หลังจากตั้งคำถามง่ายๆ ทำให้ ลิลรัตน์ บุญญวินิจ เริ่มต้นร้าน Lessplasticable ขายโปรดักต์ง่ายๆ ที่คนใช้ในแต่ละวัน อย่าง สบู่ แชมพู ยาสระผม จากสินค้าแบบ One Day Without Plastic สำหรับใช้ภายนอกขยับขยายสู่ Local Product Local Ingredients นำเสนอวัตถุดิบกินได้จากชุมชนเกษตรกร
บริษัทนี้เป็นต้นตำรับผลิต ตู้แลกเหรียญ ที่เคยถูกต่อต้านและตั้งคำถามว่ามีเพื่ออะไร ให้กลายเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ในร้านสะดวกซัก และเจ้าตู้แลกเหรียญนั้นเองที่พาบริษัทเดินทางต่อไปถึงการสร้างเครื่องอัตโนมัติจำหน่ายสินค้าต่างๆ จนวันนี้ธุรกิจหลักคือการผลิต Vending Machine อย่างเต็มตัว
กับวิธีทำการตลาดที่ “ไม่มีอะไรตายตัว” ขึ้นอยู่กับผลผลิตในแต่ละช่วง แล้วเอามาใส่ไอเดียดึงดูดลูกค้า ทั้ง “ขายเหมาต้น” หรือ “30 บาทรักษาทุกลูก” จนสามารถทำกำไรได้แม้แต่ในช่วงโควิด
ความชาญฉลาดของ อรรถพล ไชยจักร ผู้เป็นเจ้าของฟาร์ม ทำให้ฟาร์มแห่งนี้สามารถ “ประหยัด” ทั้งแรงงานคนและไฟฟ้าได้ง่ายๆ
ผลิตภัณฑ์เพิ่มน้ำนมคุณแม่ JESSIE MUM ที่เปิดโอกาสให้ผู้สนใจก้าวเข้ามาสร้างรายได้แบบไม่ต้องลุ้น ด้วยระบบตัวแทนจำหน่ายที่ตอบโจทย์คนยุคใหม่ จัดเต็ม ทั้ง Know How และเครื่องมือทางการตลาดมากมาย พร้อมดูแลตัวแทนจำหน่ายอย่างใกล้ชิดเพื่อเติบโตไปพร้อมกัน
ไอเดียนี้มาจากไหน และเมนูในยุคต่อไปของ Patonggo Café จะเป็นอะไรต่อไป จึงเป็นเรื่องที่น่าติดตามเอามากๆ
ซีฟู้ดจำนวน 2 ตัน จัดเป็น 600-650 กล่องในแต่ละวันขายหมดเกลี้ยงภายใน 1-2 นาที
นั่นเป็นเพราะมาตรการของรัฐที่ทำให้ร้านต้องปิดให้บริการกะทันหันแทบทุกครั้ง ทำให้โคเอ็น ซูชิบาร์ ซึ่งเป็นร้านอาหารแบบบุฟเฟ่ต์ต้องปรับตัวอย่างรวดเร็ว งัดกระบวนท่าต่างๆ เพื่อบริหารสต็อก ทั้งตั้งเป็นโคเอ็น ฟู้ดวิลล่า ทำเดลิเวอรี ไปจนถึงสร้างแบรนด์ซูชิเริ่มต้นคำละ 10 บาท เพื่อให้ขายง่ายกว่าโปรดักต์เดิม
ไอเดียของ Farm Day ก็คือบริการปลูกผักออนไลน์ เปิดให้ลูกค้าเช่าพื้นที่ เลือกแปลง เลือกผัก แล้วทางฟาร์มจะปลูกให้ พร้อมส่งรายงานเป็นระยะว่าผักเติบโตไปถึงไหน