ทุกธุรกิจต้องมีการปรับตัว แม้จะเป็นธุรกิจอาหารที่เป็นปัจจัยสี่ก็ตาม การขยันพัฒนาเมนูใหม่ๆ อาจได้เมนูไฮไลท์ที่พลิกธุรกิจให้ “อยู่รอด” หรือ “เติบโต” ได้ รวมทั้งต้องสอดส่องหารูรั่วของธุรกิจให้เจอด้วย
การทำธุรกิจต้องไม่พ้นการเป็นหนี้ แล้วเป็นหนี้แค่ไหนถึงจะพอดี ต้องบริหารหนี้อย่างไรให้เกิดสภาพคล่อง คำถามที่คนทำธุรกิจควรรู้คำตอบ
ทำไมถึงขายของได้ยากขึ้นจริงๆ แล้วเป็นเพราะว่า เศรษฐกิจไม่ดี หรือ แค่เงินเปลี่ยนที่อยู่? หรือรูปแบบการทำธุรกิจต้องเปลี่ยนไป เพราะทุกอย่างล้วนมีอายุขัยในตัวมันเอง และนี่คือสัญญาณเตือนว่าหมดยุคของการทำธุรกิจแบบเดิมๆ
การสร้างเงินล้านนั้นไม่มีสูตรสำเร็จ และไม่มีข้อจำกัดว่าต้องเกิดมาในกองเงินกองทองเท่านั้น แม้แต่คนที่ต้นทุนต่ำอย่าง หัฏฐะพล มลคาน ก็สามารถสร้างตัวจากของใกล้ตัวกลายเป็นเจ้าของแบรนด์ SEA FRIDAY ผู้คิดค้นแหนมปูม้าเป็นรายแรกของไทย
“อารีฟู้ดส์” SME ที่ทำอาหารแช่แข็งส่งให้กับครัวร้อนในซูเปอร์มาร์เก็ตหลายแห่ง มีรายได้ต่อปีที่ประมาณ 150 ล้านบาท เมื่อต้องเจอกับโควิด-19 จึงปรับสายพานการผลิตมาสู่สินค้าประเภท Ready to Eat ที่รองรับกับพฤติกรรมของผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้บริโภค
จากร้านส้มตำธรรมดาๆ ก็กลายเป็นกิจการร้อยล้านกับเขาได้! เหมือนที่ “สุภาพร ชูดวง” ผู้ก่อตั้ง “บ้านส้มตำ” พิสูจน์ให้ทุกคนเห็นมาตลอด 15 ปี ขยายจนมี 8 สาขา มียอดขายสูงถึง 300 ล้านบาท
การทำธุรกิจในปีนี้ เป็นอีกปีที่โหดหินสำหรับผู้ประกอบการ SME ไทย โดยเฉพาะกลุ่มผู้ส่งออก ที่ได้รับผลกระทบจากทั้งสงครามการค้า เศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว และค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น บวกเศรษฐกิจภายในประเทศที่ยังไม่ฟื้นตัว
ท่ามกลางสังเวียนธุรกิจปัจจุบัน ผู้ประกอบการหลายคนเปรียบเหมือนนักมวยที่กำลังชกอยู่ในช่วง Climax หากพลาดนิดเดียวอาจทำให้คุณพ่ายแพ้ไปในเกมนี้