พนักงานยุคใหม่ไม่ได้ต้องการเลื่อนตำแหน่ง แต่ต้องการความสุขในชีวิตมากกว่า และยินดีที่จะอยู่ในตำแหน่งที่เล็กกว่า ถ้าไม่ต้องรับผิดชอบอะไรที่กดดัน หรือเครียดจนเกินไป
หัวหน้าไม่ใช่มนุษย์ Perfect จึงเป็นเรื่องปกติที่ทุกคนเคยทำผิดพลาด แต่หัวหน้าที่มีพฤติกรรม “เป็นพิษ” (Toxic) นอกจากจะทำให้บรรยากาศในการทำงานไม่ดีแล้ว ยังทำให้ผลผลิต (Productivity) ของทีมและองค์กรแย่ลงอีกด้วย
เพราะทรัพยากรบุคคล คือ ปัจจัยสำคัญที่สุดอีกหนึ่งอย่างในการขับเคลื่อนองค์กรธุรกิจให้เติบโตขึ้นมาได้ แต่ขณะเดียวกันก็อาจเรียกว่าเป็นปัญหาในการบริหารจัดการและแก้ไขได้ยากที่สุดเช่นกัน ต่อไปนี้ คือ วิธีรับมือลูกน้องให้อยู่หมัด
หากสามารถบริหารจัดการดูแลบุคลากรในองค์กรได้ดีก็เหมือนมีอาวุธชั้นยอดอยู่ในมือ เราจึงขอนำเสนอ 9 วิธีเพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้พนักงานมาฝากผู้ประกอบการ SME กัน ซึ่งเมื่อพนักงานมีความแข็งแรงทางด้านจิตใจแล้วก็เปรียบเหมือนหัวใจที่แข็งแกร่งของธุรกิจ
Qualtrics และ SAP ทำการสำรวจพนักงาน 2,700 คนใน 10 อุตสาหกรรมทั่วโลก พบว่านับตั้งแต่มีการระบาดและการล็อกดาวน์เมืองในช่วงเดือนมี.ค-เม.ย 2563 ที่ผ่านมาผู้คนถึง 75 % รู้สึกโดดเดี่ยวทางสังคมมากขึ้น 67% เครียดมากขึ้น อีก 57 % รู้สึกวิตกกังวล และมีคนถึง 53 % ที่รู้สึกอ่อนล้าทางอารมณ์
ใครกันจะชอบหัวหน้างานเกรี้ยวกราด ฉุนเฉียวง่าย ควบคุมอารมณ์ตนเองไม่ได้ เพราะต่อให้เงินเดือนดีสวัสดิการเด่นแค่ไหน แต่พนักงานก็พาลจะลาออกได้ง่ายๆ เพราะทนหัวหน้าไม่ไหว
จะดีกว่าไหม ถ้าวันนี้เรามีตัวช่วยที่จะเปลี่ยนความยุ่งยากของงานหลังบ้าน ไม่ว่าจะเป็น การคำนวณเงินเดือนและภาษี การบันทึกเวลาเข้าออกงานของพนักงาน หรือแม้แต่การบริหารงานบุคคล ให้กลายเป็นเรื่องง่ายๆ
และแล้วก็ถึงเวลาที่ SME หลายๆ แห่งต้องขยายธุรกิจของตนเองออกไป แต่การขยายที่ดี ควรมีการจัดระเบียบภายในองค์กรให้มีระบบตามไปด้วย ซึ่งแน่นอนว่าหนึ่งในสิ่งที่ควรทำ คือ การจัดโครงสร้างขององค์กร
ทำธุรกิจไม่เจอปัญหาคงเป็นไปไม่ได้ แต่วิธีข้ามกำแพงอย่างไรให้ปลอดภัยต่อธุรกิจที่สุด คงต้องมีเครื่องมือและกลยุทธ์ที่จะนำไปใช้ในการแก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ โดยเรื่องของการแก้ปัญหานั้น มีโมเดลการแก้ปัญหา Simplex โดย Min Basadur อยู่ ซึ่งประกอบไปด้วย 8 ขั้นตอน เชื่อว่าคงจะช่วยให้ SM..