หนึ่งในปัญหาสินค้าชุมชน หรือสินค้าภูมิปัญญาต่างๆ ก็คือ ไม่สามารถดัดแปลงให้เข้ากับความต้องการของผู้บริโภคยุคใหม่ได้ รวมถึงบางอย่างแม้จะเป็นที่ต้องการของตลาด แต่กลับไม่สามารถผลิตออกมาได้ตามระยะเวลาและปริมาณที่ตลาดต้องการได้ ลองมาดูวิธีคิดจาก "เรือนไหม-ใบหม่อน" ธุรกิจผลิตผ้าไหมครบวงจรกัน
เวลาพูดถึงการท่องเที่ยวเกาหลี หลายคนก็จะนึกถึงแสงและความโมเดิร์น นึกถึงย่านช้อปปิ้ง แต่รู้ไหมว่าจริงๆ แล้วคนเกาหลีกลับมีวิธีทำการตลาด ขายสินค้าได้อย่างน่าสนใจเช่นกัน
นี่คือสินค้าโอทอปแฮนด์เมด ตุ๊กตาผ้าน่ารักน่าชัง มีชื่อเรียก มีเรื่องเล่า มีความใส่ใจรายละเอียดในทุกขั้นตอนของการทำ แต่ที่ว้าว! ไปกว่านั้นคือ มีการฝัง IoT เปลี่ยนตุ๊กตุ่นธรรมดาๆ ให้กลายเป็นตุ๊กตาพูดได้ ผู้ช่วยคลายเหงาของผู้สูงวัย
ภาพจำของผ้าไหมในสายตาของคนทั่วไปอาจดูเป็นของล้ำค่า เป็นผืนผ้าทอราคาสูง เหมาะสำหรับสตรีรุ่นแม่หรือผู้หญิงสูงอายุเท่านั้น แต่ผ้าไหมในความคิดของสาวรุ่นใหม่อย่าง ภัสซา จีระนันทกิจ เจ้าของแบรนด์ PASSA silkwear นั้นมีความเปรี้ยว เก๋ เข้าถึงง่าย ใส่ได้ทุกวัน
สุรินทร์ไม่ได้มีแต่ช้าง ผ้าไหม หรือข้าวหอมมะลิ แต่ยังมีร้านของฝากที่ใหญ่และเก่าแก่ที่สุดในสุรินทร์ที่ชื่อ “กุนเชียง 5 ดาว” ทำไมร้านของฝากแห่งนี้ถึงขายดิบขายดี และกลายเป็นอีกหมุดหมาย “ต้องห้ามพลาด” ของนักท่องเที่ยว มาดูกัน
อะไรคือจุดที่ทำให้ยูนิโคล่ จากร้านจำหน่ายเสื้อผ้าที่ห่างไกลจากความเป็นแฟชั่นอันทันสมัย ใช้เวลาแค่ 10 กว่าปีสามารถปรับภาพลักษณ์ให้เป็นแบรนด์เครื่องแต่งกายแฟชั่นที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่นและเอเชีย พร้อมกับเป้าหมายที่จะก้าวขึ้นเป็นอันดับ 1 ของโลกในอนาคต
การจะสร้างแบรนด์ของสินค้าให้กลายเป็น “แบรนด์หรู” ไม่ได้เหมาะกับสินค้าทุกชนิด และไม่ใช่ว่าผู้ผลิตสินค้าทุกรายจะทำได้