โครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER) เป็นกลไกเดียวที่ให้การรับรองคาร์บอนเครดิตของไทยโดยองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) หรือ อบก. แต่ปัจจุบันมีการพัฒนา Premium T-VER ขึ้นมาอีกระดับ เราสรุป 5 ประเด็นสำคัญมาให้ว่ามาตรฐาน T-VER ที่มีอยู่เดิมกับ Premium T-VER มีความแตกต่างกันอย่างไร
จากภาวะยุคโลกร้อนเข้าสู่ยุคโลกเดือด ปัจจุบันจึงได้เห็นภาคส่วนต่างๆ ทั่วโลกใช้ “คาร์บอนเครดิต” เป็นกลไกมุ่งสู่เป้าหมาย Net Zero กันมากขึ้น เมื่อความต้องการคาร์บอนเครดิตมีแนวโน้มจะสูงขึ้นเรื่อยๆ โอกาสที่ SME จะพัฒนาตนเองเป็นผู้ผลิตหรือผู้ขายคาร์บอนเครดิต หรือ Seller Carbon Credit ก็มากตามขึ้นไปด้วย
ในวันที่ผลกระทบจากปัญหาก๊าซเรือนกระจก รุนแรงและหนักหน่วงขึ้นเรื่อยๆ กลายเป็นพันธกิจร่วมที่ทั้ง ภาครัฐ เอกชน ภาคธุรกิจ หรือแม้แต่ระดับบุคคล ต้องกลับมาให้ความสำคัญ และร่วมมือกันกอบกู้โลก
กระแสโลกร้อนเอสเอ็มอีอาจคิดว่าเป็นเรื่องไกลตัว แต่จริงๆ รู้ไหมความกดดันนี้กำลังไหลหลั่งมาสู่เอสเอ็มอี ขณะเดียวกันก็มีโอกาสดีๆ ซ่อนอยู่ โดยเฉพาะกับอาวุธใหม่ที่ชื่อ “คาร์บอนเครดิต” ที่เอสเอ็มอีก็สร้างได้
เพราะเชื่อว่าโลกใบนี้ไม่มีขยะ มีแค่เพียงทรัพยากรที่วางไว้ผิดที่ผิดทางเท่านั้น เหมือนกับที่ "เอส-ธนินท์รัฐ ธนเศรษฐ์โตกุล" ได้ค้นพบธุรกิจที่ใช่ หลังจากลองผิดลองถูกมาหลายธุรกิจ ซึ่งก็คือ "ธุรกิจรับซื้อของเก่า" ซึ่งเขามองว่าเป็นธุรกิจที่มีความเป็นอมตะ
ชวนผู้ประกอบการไทยมารู้จัก “มาตรการ CBAM” การปรับราคาคาร์บอน ก่อนข้ามพรมแดนสหภาพยุโรป CBAM ส่งผลกับผู้ประกอบการไทยอย่างไร และการเตรียมความพร้อมรับมือ
"Carbon accounting" หรือ บัญชีก๊าซเรือนกระจก การทำบัญชีกิจกรรมทางธุรกิจที่มีต่อปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาสู่ชั้นบรรยากาศของแต่ละองค์กร ทำไม Carbon accounting จึงเกี่ยวข้องกับการทำธุรกิจ ลองมาดูกัน
อย่างที่ผู้ประกอบการทุกคนรู้ดีว่าโลกของเราร้อนเพิ่มขึ้นทุกปี เนื่องจากหลายปัจจัยที่เกิดขึ้น อย่างเช่น การปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ของภาคอุตสาหกรรม ด้วยเหตุนี้ทำให้มีเทรนด์การค้าใหม่เกิดขึ้นนั้นก็คือ ตลาดซื้อ - ขายคาร์บอนเครดิต ซึ่งมีแนวโน้มว่าราคาการค้าคาร์บอนเครดิตในปีนี้เพิ่มขึ้นถึง 3 เท่า