เพราะกลัวว่าสับปะรดภูเก็ตอาจสูญพันธุ์ได้สักวันหนึ่ง บริษัทประชารัฐรักสามัคคีภูเก็ต จึงอาสาปกป้องผลไม้ชนิดนี้ให้อยู่คู่กับภูเก็ต จนสามารถผลิตสับปะรดขายได้ถึงลูกละหมื่นกว่าบาท
“บ้านอุ๋ม” เบเกอรีสไตล์โฮมเมดเมืองแปดริ้ว ที่ต่อยอดธุรกิจขึ้นมาโรงงานผลิตขนมปังและเค้กขายส่งจากรุ่นพ่อเมื่อ 50 กว่าปีก่อน ปัจจุบันพัฒนาธุรกิจสู่แบรนด์ขนมขึ้นชื่อของจังหวัด สร้างโรงงานผลิตมาตรฐาน ตั้งเป้าขยายธุรกิจสู่แฟรนไชส์ 100 สาขาทั่วประเทศ ภายใต้หลักสำคัญของแบรนด์ “ความอร่อยก็ต้องมา คุณภาพก็ต้องได้”
"อบในโอ่ง" ร้านอาหารเล็กๆ ย่านรามอินทรา ที่เปิดดำเนินการมาได้กว่า 3-4 ปี มีเมนูขึ้นชื่อ คือ หางหมูอบโอ่ง, ไก่อบโอ่ง, หมูกรอบอบโอ่ง แต่กว่าจะมาถึงวันนี้ได้ ต้องเจอกับอุปสรรคนับครั้งไม่ถ้วน แต่สุดท้ายก็ผ่านมาได้ ด้วยวิธีคิดแบบวิทยาศาสตร์ จะเป็นยังไงมาติดตามกัน
ขายของหลักสิบยังไง ให้ได้จับเงินล้าน! ลองมาดูกลยุทธ์ของ "ไพศาล ยอดนาม" อดีตหนุ่มวิศวกรที่ผันตัวมาเป็นพ่อค้าขายของตลาดนัด แต่ด้วยหลักคิดแบบวิศวะ ก็ทำให้เขาทำรายได้นับล้านบาทต่อเดือนได้
จากเงินเดือนหลักแสนบาท ใครจะคิดว่าวันหนึ่ง “ไพศาล ยอดนาม” หรือ “เชฟเฉา” อดีตหัวหน้าวิศวกรยานยนต์จะยอมตัดสินใจทิ้งหน้าที่การงานมั่นคง เพื่อก้าวออกมาเปิดร้านขายสปาเก็ตตี้ในราคากล่องละไม่กี่สิบบาท แต่ที่สำคัญกลับทำรายได้หลักล้านต่อเดือนได้
จากการคิดต่อยอดจากธุรกิจของครอบครัวที่ดำเนินกิจการค้าข้าวและอุตสาหกรรมอาหารส่งออก ภายใต้ชื่อของ V-Group หรือ วุฒิชัยกรุ๊ป มานานกว่า 30 ปี บริษัท โอชาฟูดแพ็ค จำกัด คือ 1 จาก 9 บริษัทในเครือ ผู้ส่งออกใบตองและผักผลไม้แช่แข็งรายใหญ่ของประเทศ ที่ครั้งหนึ่งธุรกิจเกือบพัง เพราะขาดทุน
เทรนด์การตลาดที่มาแรงที่สุดในตอนนี้ต้องยกให้ “กล่องสุ่ม” ที่สุ่มกันตั้งแต่สินค้าแฟชั่นอย่างเสื้อผ้า กระเป๋า เครื่องสำอาง อาหารทะเล ผัก-ผลไม้ และล่าสุดที่เป็นกระแสสุดๆ เมื่อพิมรี่-พายขายกล่องสุ่มทั้งกล่องละ 10,000 และ 100,000 สร้างรายได้หลักร้อยล้านได้ภายใน 5 นาที
หนึ่งในปัญหาที่คอยขัดขาคนขายเบเกอรีออนไลน์ คือ การที่ค่าขนส่งสูงพอๆ หรืออาจจะสูงกว่าค่าขนมที่สั่ง จนลูกค้าไม่น้อยต้องถอดใจยกเลิกการสั่งซื้อไป
ผลพวงจากไวรัสโควิดธุรกิจต่างๆ ต้องหาวิธีปรับตัว หนึ่งหลายวิธีก็คือใช้วิธีฉีกแนวจากธุรกิจเดิมแล้วไปเริ่มต้นธุรกิจใหม่ เหมือนกับโคเรีย วอลเปเปอร์ ตัดสินใจพลิกมาจับสินค้าที่ความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกปีอย่าง “ทุเรียน”
บรรจุภัณฑ์เดี๋ยวนี้ไม่ได้มีแค่เอาไว้ใส่หรือห่อสินค้า แต่บรรดาแบรนด์ต่างๆ ได้สรรหาวิธีใช้ประโยชน์ แต่สิ่งหนึ่งที่เหมือนกันคือการสะท้อนว่าแต่ละแบรนด์นั้นให้ความสำคัญกับอะไร มีบุคลิกแบรนด์เป็นแบบไหน
ด้วยสถานการณ์ตอนนี้บีบบังคับให้ผู้ประกอบการต้องสู้ยิบตา ถ้าไม่สู้ก็ไม่รอด วันนี้เราจึงขอหยิบนำมาเล่าต่อให้ฟังจาก 2 เคสตัวอย่างของ 2 ผู้ประกอบการที่มีวิธีการรับมือจากวิกฤตแตกต่างกันไป จะเป็นใครนั้นลองไปดูกันเลย
ปกติเวลาซื้อผลไม้มารับประทาน เรามักจะซื้อกันเป็นลูกๆ หรือกิโลกรัม เพราะคงไม่มีใครที่ตัดแบ่งขายเฉพาะส่วนให้ แต่อาจไม่ใช่กับ “แตงโม แตงโหม่ว แตงโม” ร้านขายแตงโมออนไลน์ที่เลือกเอาเฉพาะแกนแตงโตแบบไร้เมล็ดกวนใจมาขายให้กับลูกค้า