การหาแหล่งเงินทุนของผู้ประกอบการ SME จะแบ่งออกเป็น 2 แนวทางหลัก คือ การกู้เงินผ่านช่องทางของตลาดเงิน และการระดมทุนผ่านช่องทางตลาดทุน ซึ่ง 2 แนวทางนี้มีความแตกต่างกัน มาดูกันว่าแนวทางใดที่เหมาะสมกับรูปแบบธุรกิจของเราที่สุด
อดีตเด็กนอกที่ไปเรียนและทำงานอยู่ประเทศอังกฤษมาประมาณ 7 ปี วันนี้เธอกลับบ้านเกิดที่ จ.พัทลุง เพื่อต่อยอดธุรกิจผลิตกะปิของครอบครัวที่ทำมาหลายสิบปี สู่นวัตกรรมซอสกะปิและน้ำปลาหวาน ในชื่อแบรนด์ “เคยนิคะ”
“Bean to Bar Chocolate” (บีนทูบาร์ช็อคโคแลต)” แบรนด์ช็อกโกแลตเมืองจันท์ ที่ทั้งปลูกและผลิตใน จ.จันทบุรี แถมยังฉีกตัวเองออกจากตลาดด้วยการเป็นช็อกโกแลตคีโตเจ้าแรกในไทย
“อารีฟู้ดส์” SME ที่ทำอาหารแช่แข็งส่งให้กับครัวร้อนในซูเปอร์มาร์เก็ตหลายแห่ง มีรายได้ต่อปีที่ประมาณ 150 ล้านบาท เมื่อต้องเจอกับโควิด-19 จึงปรับสายพานการผลิตมาสู่สินค้าประเภท Ready to Eat ที่รองรับกับพฤติกรรมของผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้บริโภค
มีสัญญาณให้เห็นชัดเจนว่าในช่วงโควิดที่ผ่านมา กลุ่มสินค้าที่เป็นอาหารเกี่ยวกับสุขภาพได้รับความสนใจมากขึ้น นอกจากนี้กลุ่มสินค้าที่มาแรง และเป็นอนาคตของผู้ส่งออกอาหารไทย ก็คือแพลนต์เบส (Plant-based Food) อาหารจากพืช ซึ่งกำลังเติบโตอย่างมากในตลาดโลก
ทายาทธุรกิจขนส่งสินค้ากว่า 50 ปี หาวิธีช่วยให้การทํางานของธุรกิจครอบครัวมีประสิทธิภาพขึ้น โดยใช้เทคโนโลยีและวิธีการใหม่ๆ มาทำให้การบริหารงานกระชับและลื่นไหล ก่อเกิดเป็นธุรกิจโลจิสติกส์ครบวงจร สร้างชื่อเสียงแบรนด์ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้างขึ้น
กลุ่มเกษตรอินทรีย์ N-Do Fulltime (เอ็นดู ฟูลไทม์) คือการรวมตัวกันของคนทำเกษตรรุ่นใหม่ ลูกหลานชาวพิษณุโลก ที่ฝันอยากจะให้บ้านเกิดกลายเป็นสังคมเกษตรอินทรีย์ ผู้คนมีสุขภาพที่ดีและมีธุรกิจที่ยั่งยืนไปพร้อมกับคนพิษณุโลก
การเข้าถึงแหล่งวัตถุดิบจากต้นทางได้นับว่าเป็นสุดยอดปรารถนา ทว่าในความเป็นจริงการจะเข้าถึงผู้ผลิตวัตถุดิบยักษ์ใหญ่ได้นั้น ต้องสั่งซื้อในปริมาณมาก และบางครั้งเกินความต้องการใช้งานของ SME จึงได้เกิดรูปแบบการให้บริการจากบริษัทตัวแทนจำหน่ายขึ้นมา
อยากทำสินค้านวัตกรรม แต่ไม่รู้จะเริ่มต้นจากไหนดี ลองดูแนวทางของ แบรนด์ “จั๊บ จั๊บ” (JUB JUB) ก๋วยจั๊บอุบลกึ่งสำเร็จรูป ที่ใช้วิธีขอซื้อสิทธิบัตรงานวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัย แล้วมาต่อยอดเป็นผลิตใหม่ พัฒนาแบรนด์จนประสบความสำเร็จ
ถ้าวันหนึ่งพนักงานในองค์กรของเราติดโควิด เราจะรับมือกับเหตุการณ์นี้อย่างไร? สำหรับ “ศุภรัตน์ โชติสกุลรัตน์” ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด (UAE) รับมือกับเรื่องนี้ด้วยการพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส
หลังโควิดเศรษฐกิจและการค้าโลกจะเปลี่ยนไป ทั้งการใช้ระบบอัตโนมัติต่างๆ มาทดแทนแรงงานคน การย้ายฐานการผลิตกลับประเทศต้นทาง ตลอดจนการใช้นโยบายการเงินแบบรูปแบบใหม่ของธนาคารกลาง ฉะนั้นต้องปรับตัวให้ทันใน 3 เรื่องหลักต่อไปนี้
เส้นพาสต้าและราเมง ที่เสิร์ฟความอร่อยอยู่ในตลาดโลก มีจุดเริ่มต้นที่แปลงนาข้าวแข็งอินทรีย์มาตรฐานส่งออก ของ “กลุ่มข้าวฅนอินทรีย์ จังหวัดพิจิตร” เมื่อข้าวเคมีเปลี่ยนเป็นข้าวอินทรีย์ทำให้สามารถขยับราคาผลผลิตจากหลักพันขึ้นเป็นหลักหมื่น