ในฐานะผู้นำองค์กรหรือเจ้าของธุรกิจไม่ว่าใครก็ย่อมอยากให้พนักงานของตนพัฒนาขึ้น แต่บางครั้งผู้บริหารและพนักงานผู้ปฏิบัติตามก็เป็นได้ที่มองเห็นภาพกันคนละอย่าง ซึ่งมักเป็นปัญหาทำให้เกิดความเข้าใจผิดกันอยู่เรื่อย
เป็นอีกธุรกิจที่มีโอกาสซ่อนอยู่อย่างน่าสนใจ สำหรับธุรกิจขนย้ายบ้านชาวต่างชาติที่อยู่ในประเทศไทย (Expat) หนึ่งในนั้นคือ United Service Phuket (USP) ซึ่งเริ่มให้บริการที่ภูเก็ตนี่เอง จนกระทั่งปัจจุบันมีสาขาทั้งในภูเก็ตและกรุงเทพฯ และให้บริการขนย้ายไปทั่วโลก
นี่คือเรื่องราวของช่อง YouTube ที่ชื่อ “สามอาชีพ เพื่อมนุษยชาติ” คลิปซื่อๆ ที่นำเสนอด้วยความเรียบง่ายและจริงใจ ตั้งคำถามแบบคนไม่รู้เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้แบบเคลียร์ๆ ให้คนที่อยากพึ่งพาตนเองด้วย “สามอาชีพ” คือ กสิกรรมไร้สารพิษ ปุ๋ยสะอาด และขยะวิทยา
บางคนรู้สึกว่าหากสถานการณ์กลับไปเป็นปกติ การกลับไปทำงานในสำนักงานแบบ 100 เปอร์เซ็นต์น่าจะดีกว่า บางคนก็รู้สึกว่าชอบการทำงานแบบระยะไกล แล้วผู้ประกอบการจะรู้ได้อย่างไร ว่าการทำงานแบบไหนจะเหมาะสำหรับธุรกิจของตัวเอง
ในสมัยก่อนโรงแรมส่วนใหญ่จะใช้การขายตรงผ่านโบรชัวร์ที่นำไปแจกให้กับ Agency หรือหน่วยงานต่างๆ เป็นหลัก แต่ทว่าเมื่อเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ กระแสผู้บริโภคเปลี่ยนมีการถามถึงเว็บไซต์ของโรงแรมมากขึ้น จึงได้เวลาปรับหน้าเว็บโรงแรมสู่ OTA
“โอ้กะจู๋” ร้านอาหารสุขภาพที่มีเมนูจัดหนักจัดเต็มและอร่อย จนคนต้องต่อคิวซื้อ มีสาขา 14 สาขา มีฟาร์ม 4 ฟาร์ม มีศูนย์กระจายสินค้า ครัวกลาง พนักงานเกือบพันคน ในปีที่ผ่านมามีรายได้รวมถึงกว่า 643 ล้านบาท!
ในวันที่คำว่า Digital Transformation หรือการเปลี่ยนองค์กรเป็นดิจิทัลถูกใช้กันเกลื่อนเกร่อ แต่ดูเหมือนว่าน้อยรายนักที่จะทำแล้วประสบความสำเร็จ แล้ว SME จำเป็นแค่ไหนที่จะต้องมาทรานส์ฟอร์มองค์กรให้เป็นดิจิทัล
ก่อนจะฝันไปไกลและต้องตกม้าตายกลางทาง ต้อง “ดึงสติ” ให้หลุดจากโรคหลงตัวเองเพื่อเผชิญหน้าความจริงที่ว่า เริ่มต้นธุรกิจแบบไหนก็เจ๊งได้ถ้าไม่เข้าใจปัญหาของลูกค้า
จากคำเคยกล่าว “ปู่สร้าง พ่อขยาย ลูกหลานทำเจ๊ง” ธุรกิจอยู่ได้ไม่เกิน 3 รุ่น วันนี้อายุไขธุรกิจอาจสั้นไปกว่านั้น ทำอย่างไรธุรกิจครอบครัวถึงจะยังคงอยู่ และแข็งแกร่งเหนือความเปลี่ยนแปลงและสภาวะวิกฤต
วันนี้การทำธุรกิจอยู่บนความไม่แน่นอน จะทำอย่างไร SME ถึงจะปรับตัว ปรับวิธีคิด เพื่ออยู่รอดได้หลังสถานการณ์วิกฤต และมีโอกาสเติบโตรุ่งในโลกที่เต็มไปด้วยความเปลี่ยนแปลงนี้
การคำนวนหามูลค่าของบริษัทหรือแวลูเอชัน (Valuation) ถือเป็นหนึ่งในขั้นตอนสำคัญก่อนที่จะเกิดการร่วมลงทุนหรือระดมทุน เนื่องจากมูลค่าของบริษัทจะเป็นตัวเลขที่บ่งบอกว่าผู้ลงทุนจะต้องจ่ายเงินเป็นมูลค่าเท่าไรเพื่อให้ได้มาซึ่งความเป็นเจ้าของ
จนถึงตอนนี้เรายังคงก้าวไม่พ้นสถานการณ์โควิด-19 ที่ยังไม่รู้ว่าพรุ่งนี้จะเป็นอย่างไร และไม่สามารถฟันธงได้ว่าจะจบลงเมื่อไร ทุกธุรกิจจึงดำเนินการภายใต้คำว่า “ไม่แน่นอน” ถ้าไม่อยากเป็นคนที่ถูกทิ้งไว้ข้างหลังก็ต้องปรับเปลี่ยนและเรียนรู้ในทุกๆ วัน