ปีนี้ผลกระทบจากโรคระบาดทำให้เศรษฐกิจชะงักงัน สถานการณ์ดังกล่าวทำให้คนทำธุรกิจต่างต้องการความเปลี่ยนแปลง และสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ นี่ล่ะที่จะปูทางให้ธุรกิจเดินต่อไปได้นับจากนี้
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) สร้างนวัตกรรมใหม่อย่างบรรจุภัณฑ์อัจฉริยะที่สามารถบ่งชี้ความปลอดภัยของปริมาณซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในลำไยได้สำเร็จทำให้ผู้บริโภคได้รับรู้ถึงความปลอดภัยก่อนรับประทาน
นี่คือสินค้าโอทอปแฮนด์เมด ตุ๊กตาผ้าน่ารักน่าชัง มีชื่อเรียก มีเรื่องเล่า มีความใส่ใจรายละเอียดในทุกขั้นตอนของการทำ แต่ที่ว้าว! ไปกว่านั้นคือ มีการฝัง IoT เปลี่ยนตุ๊กตุ่นธรรมดาๆ ให้กลายเป็นตุ๊กตาพูดได้ ผู้ช่วยคลายเหงาของผู้สูงวัย
ปัจจุบันเกษตรกรไทยเริ่มมีการนำผลิตผลทางการเกษตรออกมาจำหน่ายออนไลน์มากยิ่งขึ้น เมื่อมีลูกค้าสั่งซื้อก็ต้องส่งผ่านทางไปรษณีย์ TISTR จึงวิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ออกมาเพื่อช่วยให้การส่งผลผลิตทางการเกษตรสะดวกสบายและปลอดภัยต่อผู้บริโภค
เศรษฐกิจยุค Sheconomy สตรีผู้มีอำนาจซื้อ เป็นตลาดที่ SME จะมองข้ามไม่ได้ แต่การจะพัฒนาสินค้าและบริการมาตอบสนองตลาดผู้หญิงนั้นก็ไม่ง่ายเช่นกัน ต้องอาศัยความเข้าอกเข้าใจ และรู้ Pain Point ในแบบผู้หญิงๆ
หนังสือ Concept is Everything หรือชื่อไทยว่า “1,000 ไอเดียหรือจะสู้ 1 คอนเซปต์” จะทำให้คุณรู้ว่าคอนเซปต์นั้นสำคัญไฉน ซึ่งต่อให้ไม่ใช่คนที่ทำงานด้านครีเอทีฟหรือความคิดสร้างสรรค์มาก่อน ก็จะเข้าใจคำว่า คอนเซปต์ ได้ไม่ยาก
จากธุรกิจที่ต้องใช้เวลานานถึง 4 ปี กว่าจะมีลูกค้ารายแรก ทนอยู่กับการขาดทุนกว่าร้อยล้าน วันนี้ บริษัท เอกา โกลบอล จำกัด คือผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ยืดอายุอาหารรายใหญ่ของโลก เบอร์ 1 ในเอเชีย โดยมีกำลังการผลิตสูงถึง 2,500 ล้านชิ้นต่อปี!
สหรัฐอเมริกา ประกาศตัดสิทธิพิเศษทั่วไปทางภาษี (GSP : Generalized System of Preferences) กับประเทศไทย โดยมีผลบังคับใช้ในวันที่ 25 เมษายน 2563 นี้
ถ้าพูดถึงเรื่อง “ศาสนา” สิ่งที่ตามมาก็คงเป็นพิธีกรรมตามความเชื่อ อย่างการทำความเคารพต่อศาสดา โดยบางศาสนานั้นมีกฎเกณฑ์ทุกวันและวันละหลายๆ รอบ อย่างเช่น ชาวมุสลิมที่ต้อง “ละหมาด” ทุกวันนั่นเอง
หลายสิบปีก่อน สิ่งทอไทยถูกมองว่า เป็น “Sunset” ธุรกิจขาลงที่หมดยุคหอมหวานไปนานแล้ว แต่ใครจะคิดว่าวันนี้อุตสาหกรรมสิ่งทอไทยยังคงอยู่และเติบโต ด้วยการปรับตัวของผู้ประกอบการไทยที่ครองใจแบรนด์ดังระดับโลกมานานหลายปี
อุตสาหกรรมอาหารไทยในอนาคต ต้องก้าวข้ามการผลิตเชิงปริมาณ มาผลิตสินค้าในเชิงนวัตกรรม เพื่อเพิ่มมูลค่าให้เกิดขึ้น และเปลี่ยนจากการขับเคลื่อนโดยอุตสาหกรรม เป็นการขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี
เพราะจุดมุ่งหมายที่แท้จริงของการทำธุรกิจ ไม่ใช่แค่ประสบความสำเร็จอยู่ในวันนี้เท่านั้น เราอาจขายสินค้าได้ดี ได้รับการตอบรับที่ดีจากตลาด หรือเป็นเบอร์ 1 นำคู่แข่งทิ้งห่าง แต่พรุ่งนี้ตื่นขึ้นมาทุกอย่างอาจเปลี่ยนแปลงไปก็ได้ เพราะโลกของธุรกิจมีการแข่งขันอยู่ตลอดเวลา