ด้วยสถานการณ์ตอนนี้บีบบังคับให้ผู้ประกอบการต้องสู้ยิบตา ถ้าไม่สู้ก็ไม่รอด วันนี้เราจึงขอหยิบนำมาเล่าต่อให้ฟังจาก 2 เคสตัวอย่างของ 2 ผู้ประกอบการที่มีวิธีการรับมือจากวิกฤตแตกต่างกันไป จะเป็นใครนั้นลองไปดูกันเลย
ในสถานการณ์โควิด-19 หลายธุรกิจได้รับผลกระทบขาดรายได้ ต้องหยุดพัก หรือปิดกิจการลงไป แต่ได้กลายเป็นผลกระทบเชิงบวกให้กับบางธุรกิจที่จับเอาความต้องการของผู้บริโภคที่เกิดขึ้นในช่วงนี้แล้วมาสร้างสรรค์นวัตกรรมไปตอบโจทย์ได้พอดิบพอดี
ในขณะที่หลายธุรกิจต้องเจ็บตัวและสูญเสียรายได้เพราะวิกฤตโควิด-19 แต่ “Sawadee” แบรนด์อโรม่าบาล์มของสาวเภสัชกรกลับใช้โอกาสจากวิกฤตที่มีจากเวลาว่างใน Work From Home สร้างเป็นธุรกิจเล็กๆ ของตัวเองขึ้นมาได้ในเวลาเพียง 3 เดือนเศษ
กลยุทธ์ต้องรอด ฉบับยักษ์ใหญ่แฟรนไชส์ธุรกิจอาหารอย่าง “เดอะ ไมเนอร์ ฟู้ด กรุ๊ป” ผู้ให้บริการด้านอาหารและฟาสต์ฟู้ดรายใหญ่ของประเทศ ในวิกฤตโควิด-19 พวกเขาใช้กลยุทธ์ไหนเพื่อไปต่อ
"OverBrew Specialty Coffee" ร้านกาแฟเล็กๆ แห่งหนึ่งในจังหวัดนครสวรรค์ที่ปรับตัวแก้วิกฤตด้วยการจำหน่าย "Cold Brew Bucket" หรือชุดทำกาแฟสกัดเย็นทำกินเองที่บ้านได้ง่ายๆ จากคิดหารายได้เพิ่ม กลายเป็นสร้างรายได้หลักนับแสนต่อเดือนให้ธุรกิจ
เพื่ออำนวยความสะดวกในการทำงานที่บ้านผ่านออนไลน์ ในยุค New Normalมาลองทำความรู้จักกับนวัตกรรมด้าน IT ของ BenQ แบรนด์จากไต้หวัน เพื่อตอบโจทย์การทำงานและการเรียนออนไลน์อย่างครบวงจรตั้งแต่ที่ทำงานจนถึงที่บ้าน
ในช่วงเวลาวิกฤตแบบนี้ ผู้ประกอบการหลายคนอาจสังเกตได้ว่าพนักงานของคุณไม่ได้สดชื่นเหมือนที่เคย ถึงเวลาต้องลุกขึ้นมาผลักดันให้พนักงานของคุณมีสุขภาพจิตดีและห่างไกลจากความเจ็บป่วยทางจิต โดยคำนึงถึง 3 ประเด็นนี้
จากการต้องเตรียมตัวเป็นคุณแม่ของ วรพร มุสิกบุตร (โจ) และวรฤดี มุสิกบุตร (โจ้) สองพี่น้องฝาแฝดที่บังเอิญตั้งครรภ์พร้อมๆ กัน จนเกิดเป็นนวัตกรรมเบาะนอนสำหรับทารกเพื่อช่วยป้องกันและลดความเสี่ยงการเกิดโรคไหลตายเด็กได้เป็นเจ้าแรกและเจ้าเดียวในไทย
วงจรของธุรกิจยุคนี้สั้นลง จนมีความเสี่ยงว่าธุรกิจครอบครัวที่ทำมาอาจไม่ได้ยืนยาวได้จนถึงรุ่นถัดไป ผู้ประกอบการส่วนใหญ่จึงกำลังง่วนกับการรับมือวิกฤตตรงหน้า แต่ระหว่างนี้อย่าลืมเตรียมตัวให้พร้อมสำหรับโลกอนาคตที่จะเปลี่ยนแปลงไปด้วย
AggieHome” (แอ็กกี้โฮม) ร้านขายอุปกรณ์การเกษตรและเครื่องมือช่างและทำยอดขายปังอยู่บนแพลตฟอร์มออนไลน์ มีรายได้หลักร้อยล้านบาทต่อปี ร้านที่เริ่มต้นจากความไม่รู้ แต่เลือกเรียนรู้และลงมือทำจนประสบความสำเร็จ
เมื่อ Eco Shop ของ นุ่น –ศิรพันธ์ และ ท็อป – พิพัฒน์ ได้พี่เลี้ยงเป็นถึงกรูรูธุรกิจมืออาชีพอย่าง Divana จนเกิดเป็นโปรเจกต์ร่วมกันขึ้นมาภายใต้ชื่อแบรนด์ “Divana Urban Forest” ผลิตภัณฑ์ของใช้ภายในบ้านที่ใส่ใจทั้งผู้บริโภค ผู้ผลิต และสิ่งแวดล้อม
ในพื้นที่ของอำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย เมืองการค้าเก่าที่ครั้งหนึ่งเคยรุ่งเรืองจากการเป็นท่าสำคัญ ซึ่งไม่ได้มีแหล่งท่องเที่ยวโดดเด่นอะไรเลย แต่วันนี้กลับมีร้านกาแฟเล็กๆ แห่งหนึ่งซ่อนตัวอยู่ชื่อว่า “Mitrijit” ร้านกาแฟรูปแบบสโลว์บาร์ที่ทำช้า และชอบปิดบ่อย