ถ้าการไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐฉันใด ทำธุรกิจแล้วไม่โดนโกงก็คงเป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการคงอยากได้ฉันนั้น เพราะทุกวินาทีที่เข็มนาฬิกาเดินไปข้างหน้า ธุรกิจคุณสามารถถูกทุจริตได้ตลอดเวลา และมาในสารพัดรูปแบบ
การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาโควิด-19 ระลอก 3 ส่งผลต่อสภาพเศรษฐกิจและธุรกิจให้ตกต่ำลง หน่วยจากภาครัฐ สถาบันการเงินต่างๆ จึงเร่งออกมาตรการให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการ SME
พฤติกรรมหลายอย่างของผู้บริโภค แปรเปลี่ยนไปเพราะโควิด หนึ่งในความเปลี่ยนแปลงที่ว่าคือ “Customer Journey” ที่ส่งผลต่อ “ซูเปอร์มาร์เก็ต” แหล่งช้อปสินค้าซึ่งเคยเป็นหมุดหมายของผู้คน ในยุคที่ยังไม่มีวิกฤตไวรัส
แม้ว่าหลายคนจะคิดว่า คนแบบ Extrovert จะต้องขายของได้เก่งสุด แต่ไม่ใช่เลย คนแบบ Ambivert ต่างหากที่เป็นพนักงานขายที่ดีที่สุด! สามารถทำรายได้ / ปิดการขายได้มากกว่า Introvert 24 เปอร์เซ็นต์ และมากกว่า Extrovert อย่างเหลือเชื่อถึง 32 เปอร์เซ็นต์
ในหนังสือ “No Rules Rules” ที่เขียนโดย รีด เฮสติ้งส์ บอกเอาไว้ว่าที่ Netflix เขามักสอนพนักงานทุกคนว่า ข้อมูลป้อนกลับเป็นของขวัญ (Feedback is a gift) เมื่อได้รับจงดีใจและรีบกล่าวคำขอบคุณ
SME D Bank ช่วยต่อเนื่อง ออกมาตรการ “พักหนี้อุ่นใจ เติมเงินใหม่ไปต่อ” ดูแลเอสเอ็มอีไทย ฝ่าวิกฤตโควิด-19 ระลอกใหม่ ให้สิทธิลูกค้าเดิมพักชำระหนี้เงินต้น 6 เดือน พร้อมเติมเงินเสริมสภาพคล่อง ไม่ต้องใช้หลักทรัพย์ค้ำประกัน
ทำทุกอย่าง พยายามเก่งมันทุกเรื่อง และคาดหวังว่าทุกสิ่งจะคงอยู่ถาวรตลอดไป ความเชื่อทั้งหมดนี้คือ “หลุมพราง” และช่องว่างมรณะ (The Death Gap) ที่นำพาหลายธุรกิจไปสู่ความล่มสลาย แล้วอะไรกันแน่ที่เป็น Game Changer ในการทำธุรกิจยุคใหม่
การยึดมั่นในความซื่อสัตย์และความจริงใจผสานกับแนวคิดของคนรุ่นใหม่ กำลังทำให้จังสุ่ยศิลป์เป็นที่รู้จักในวงกว้างมากขึ้น โดยใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสังคมออนไลน์ (social Network) บวกกับความชอบด้านการถ่ายรูป เป็นกลยุทธ์เพื่อขยายตลาด
“ปีเตอร์ ดรักเกอร์” กูรูด้านการบริหารจัดการผู้ล่วงลับ กล่าวไว้ว่า “พนักงานที่ลาออก ส่วนใหญ่ไม่ใช่เพราะองค์กร แต่ออกเพราะหัวหน้า” ยังคงเป็นความจริงที่น่าเกลียดสำหรับหลายๆ องค์กร
การประยุกต์ใช้ Data ให้เหมาะกับสไตล์ SMEต้องเริ่มจากมุมมองที่ต่างจากรายใหญ่ ผู้ประกอบการ SME ต้องไม่แข่งที่ความเยอะ (Big) แต่ต้องแข่งที่ความแม่น (Smart) ของข้อมูลที่มี
เมื่อปีที่แล้ว ณปภัช วรปัญญาสถิต ยังเป็นมาสเตอร์แฟรนไชส์ นำเข้าแบรนด์ชานมไข่มุกราคา 19 บาทในประเทศไทยไปขายในประเทศกัมพูชา แต่ปีนี้เธอเป็นเจ้าของแฟรนไชส์ชาไข่มุก Am Tea ที่กำลังเติบโตอย่างรวดเร็วในทั้ง 2 ประเทศ
ก่อนจะฝันไปไกลและต้องตกม้าตายกลางทาง ต้อง “ดึงสติ” ให้หลุดจากโรคหลงตัวเองเพื่อเผชิญหน้าความจริงที่ว่า เริ่มต้นธุรกิจแบบไหนก็เจ๊งได้ถ้าไม่เข้าใจปัญหาของลูกค้า