“โรงแรม พันล้าน บูติค รีสอร์ท” ใน จ.หนองคาย ของ “เรืองณภัทร วงค์ศิริภักดิ์ดี” อดีตแม่ค้าที่พลิกมาทำธุรกิจโรงแรม เธองัดทักษะวิชามากู้วิกฤตไวรัส ทั้ง รับทำอาหารกล่อง เปิดร้านขายข้าวแกง และทำน้ำพริกขาย โดยชูจุดเด่นเมนูคุณภาพระดับโรงแรม
ธุรกิจโรงแรมเริ่มมีสัญญาณ Oversupply มาตั้งแต่ก่อนโควิด-19 ด้วยซ้ำ โดยเฉพาะโรงแรมขนาดกลางและประหยัด ยิ่งมาถูกซ้ำเติมด้วยพิษโควิด สถานการณ์ก็ยิ่งรุนแรงขึ้น จนนำไปสู่ปัญหาผิดนัดชำระหนี้ และมีสัดส่วนหนี้เสียเพิ่มสูงขึ้นตั้งแต่ช่วงต้นปี 2020
ในขณะนี้หลายตลาดก็เริ่มขยายตัวต่อเนื่องได้ดีขึ้น โดยเฉพาะกับ 6 กลุ่มประเทศ ได้แก่ สหรัฐฯ จีน ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย กลุ่มประเทศตะวันออกกลาง และ CLMV มีสัญญาณฟื้นตัวได้ดีขึ้น เป็น 6 ดาวเด่นตลาดส่งออก 2564
การกลับมาของโควิดรอบนี้ ถึงแม้จะไม่ถึงขั้นล็อกดาวน์เหมือนปีที่แล้ว แต่ส่งผลอย่างชัดเจนต่อทั้งสุขภาพทางการเงินและสุขภาพจิตใจของผู้บริโภคชาวไทยอย่างเห็นได้ชัดเพราะสภาพความไม่แน่นอนและสภาพเศรษฐกิจ
เรียกว่าได้รับผลกระทบกันไปแบบเต็มๆ สำหรับธุรกิจท่องเที่ยว โรงแรม แต่ในเมื่อชีวิตยังต้องดำเนินต่อไป เราจึงเห็นโรงแรมที่พักหลายแห่งมีการปรับตัวลุกขึ้นสู้กับวิกฤตในรูปแบบต่างๆ ที่ไม่ใช่แค่การให้บริการห้องพักเพียงอย่างเดียวเท่านั้น
หลังโควิดเศรษฐกิจและการค้าโลกจะเปลี่ยนไป ทั้งการใช้ระบบอัตโนมัติต่างๆ มาทดแทนแรงงานคน การย้ายฐานการผลิตกลับประเทศต้นทาง ตลอดจนการใช้นโยบายการเงินแบบรูปแบบใหม่ของธนาคารกลาง ฉะนั้นต้องปรับตัวให้ทันใน 3 เรื่องหลักต่อไปนี้
โรงแรมสมายล์ล้านนา(Smile Lanna) จ.เชียงใหม่ ตั้งใจนำแนวคิด “โคก-หนอง-นาโมเดล” ซึ่งเป็นแนวทางทำเกษตรอินทรีย์และการสร้างชีวิตที่ยั่งยืนมาใส่เป็นองค์ประกอบสำคัญของการทำโรงแรม นักลงทุนอาจมองว่า...มันจะคุ้มกันจริงหรือกับพื้นที่ที่เสียไป?
การระบาดระลอกใหม่นี้แน่นอนว่าจะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยและธุรกิจต่างๆ ที่เพิ่งจะเริ่มฟื้นตัวในช่วงปลายปีที่ผ่านมาให้กลับทรุดลง หรือยืดระยะเวลาการฟื้นตัวออกไปจากที่เคยคาดการณ์ไว้ พร้อมกับยังมีความไม่แน่นอนและปัจจัยเสี่ยงหลายประการที่ยังคงต้องติดตาม
“บ้านไร่ ไออรุณ” ฟาร์มสเตย์ชื่อดังในพื้นที่อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง ปรับตัวสู้โควิดรอบ 2 ด้วยการเปลี่ยนรถสองแถวไม้รับส่งนักท่องเที่ยว แปลงร่างมาเป็นรถพุ่มพวงสุดคลาสสิกขายผัก ผลไม้ สดๆ ปลอดสารพิษจากไร่ออกมาสู้วิกฤตกัน
“เดลิเวอรี่ปากช่อง-เขาใหญ่” แบรนด์ Local Delivery ที่ตอบโจทย์ความต้องการของผู้ประกอบการคนไทยได้อย่างเข้าถึงมากขึ้น ด้วยการนำช่องว่างจากการให้บริการของแพลตฟอร์มเดลิเวอรีต่างๆ มาสร้างจุดแข็งให้กับตัวเอง
การทำธุรกิจคงไม่มีใครประสบความสำเร็จตั้งแต่วันแรก เช่นเดียวกับ “ชาบูอินดี้” ร้านชาบูไทยแท้ที่เริ่มจากเงินหลักแสน หวังจะขายให้ได้วันละหลักหมื่น แต่เปิดขายวันแรกทำไปได้แค่ 500 บาท! แต่กิจการรายได้ร่อแร่ที่ว่าได้กลายมาเป็นธุรกิจชาบู 2 พันล้านบาทในวันนี้
ในวิกฤตที่เกิดขึ้นนี้ก็กลับทำให้เราได้เห็นแบรนด์และผู้ประกอบการที่ฉายแววเป็นนักสู้และเอาตัวรอดได้อย่างโดดเด่น จนเป็นที่จดจำและเป็นตัวอย่างให้กับธุรกิจอื่นหรือบุคคลทั่วไปได้นำไปปรับใช้และสร้างกำลังใจให้กับตัวเองได้