เราทุกคนรู้ดีว่า 2564 จะเต็มไปด้วยความท้าทายอย่างยิ่งสำหรับคนทำธุรกิจ ไม่ใช่แค่การปรับตัวและพัฒนาเท่านั้น แต่ต้องไม่ยอมติดกับดักวิธีทำงานแบบเดิมๆ จนถอยหลังลงคลอง และนี่คือ 15 เรื่องที่ควรหลีกเลี่ยง ถ้าไม่อยากสูญเสียธุรกิจของคุณไป
"แม่ศรีเรือน" ร้านก๋วยเตี๋ยวไก่เล็กๆ เมื่อ 60 กว่าปีก่อน ที่วันนี้เติบโตเป็นธุรกิจร้านอาหารไทยใหญ่โตมียอดขายกว่าหลายร้อยล้านบาทต่อปี แถมมีสาขาในปัจจุบันมากถึง 32 แห่ง แต่รู้ไหมว่ากว่าจะดำเนินมาถึงทุกวันนี้ได้ ต้องเจอกับวิกฤตใหญ่มาแล้วถึง 4 ครั้งด้วยกัน!
เคยรู้ไหมว่าอาณาจักรธุรกิจที่นอนหมื่นล้านอย่าง "Lutus" นั้น จริงๆ แล้วเริ่มต้นธุรกิจมาจากกิจการเล็กๆ อย่างตัดมุ้งขาย และเป็นผู้ให้กำเนิดของที่นอนอเนกประสงค์ น้ำหนักเบา พับเก็บง่าย อย่าง "ที่นอนปิกนิก" เจ้าแรกในเมืองไทยด้วย
“CLASS Café” เป็น SME ที่เติบโตด้วยวิธีคิดแบบ Startup โดยลงทุนขยายสาขาอย่างรวดเร็ว แต่วิกฤตโควิด-19 ที่โหมกระหน่ำทั่วโลก ทำให้พวกเขาต้องสร้างภูมิคุ้มกันให้แข็งแกร่ง แบบที่หากเจอเรื่องไม่คาดฝันในอนาคต ธุรกิจก็จะยังสามารถคงอยู่ต่อไปได้
ประเทศไทยเป็นหมุดหมายด้านการท่องเที่ยว ที่เหล่าบุคคลสำคัญของโลกต่างเดินทางมาเยี่ยมเยือนไม่ขาดสาย ทันทีที่ถึงเมืองไทย มีหนึ่งธุรกิจคอยทำหน้าที่ให้การต้อนรับในแบบ “Exclusive” พวกเขาคือ Coral
ในวันที่ผู้ประกอบการส่วนใหญ่พูดเป็นเสียงเดียวกันว่ายังไม่รู้ว่าผลกระทบจากโควิด-19 จะอยู่กับเราไปอีกนานแค่ไหน แต่ไม่ใช่กับบริษัท มัดแมน จำกัด (มหาชน) พวกเขาลงทุนปลุกปั้นแบรนด์ใหม่ขึ้นมาถึง 2 แบรนด์
การมาถึงของสถานการณ์ไวรัสโควิด-19 เปลี่ยนแปลงอะไรหลายอย่าง โดยเฉพาะพฤติกรรมของผู้บริโภค ส่งผลถึงแนวโน้มอุตสาหกรรมต่างๆ ให้ต้องปรับเปลี่ยนตามไปด้วย เช่นเดียวกับ “ธุรกิจค้าปลีก”
สิ่งหนึ่งที่มีความน่ากังวลในยุคโควิด-19 เช่นนี้ก็คือความคิดของผู้นำธุรกิจเอง ที่คิดว่าอีกไม่นานทุกอย่างก็จะเข้าสู่สภาวะปกติได้เหมือนดังเดิม ทั้งที่ความจริงแล้วอาจไม่มีความปกติเกิดขึ้นอีกแล้วตลอดไป
ที่ทำงานก็เหมือนกับบ้านหลังที่ 2 เพื่อนร่วมงานคือคนที่เราต้องเจอหน้าและปฏิสัมพันธ์มากที่สุด แต่หากต้องทนอยู่ในสถานที่ทำงานที่เป็นพิษ เจอเพื่อนร่วมงานที่สุดแสนจะไม่เป็นมิตร หรือเจ้านายที่ 2 มาตรฐาน คงทำให้พนักงานไม่อยากทำงานสักเท่าไร
ในฐานะการเป็นผู้นำขององค์กร หรือ CEO ซึ่งมักต้องมีภาระรับผิดชอบนำพาองค์กรให้ก้าวเติบโตไปสู่ความเจริญ รวมถึงการพยายามแก้ไขกับปัญหาวิกฤตต่างๆ ที่ผ่านเข้ามา เพื่อนำพาทุกคนให้อยู่รอดผ่านพ้นเหตุการณ์เลวร้ายต่างๆ ไปด้วยกันได้
“Above the Ocean Strategy (AOS)” หรือ “กลยุทธ์เหนือน่านน้ำ” คือตัวช่วยอธิบายการเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจ ช่วยให้ธุรกิจเห็นภาพได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นว่า หลังจาก COVID-19 พวกเขาต้องปรับเปลี่ยนตัวเองอย่างไร เพื่อก้าวสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
ปรากฎการณ์จริงที่เกิดขึ้นกับผู้ประกอบการ SME ในวันนี้คือ มีถึง 90 เปอร์เซ็นต์ที่กำลังเป็นหนี้ บางรายค้างชำระ บางรายกลายเป็นหนี้เสีย ยิ่งเมื่อเกิดวิกฤตโควิด-19 เข้ามาซ้ำเติม พวกเขาเหล่านี้ก็แทบไม่มีโอกาสได้รับอนุมัติวงเงินสินเชื่อจากสถาบันการเงินเพิ่มเติม เพื่อมาพยุงธุรกิจให้ไปต่อ