กลยุทธ์การตลาดยอดฮิตในช่วงหลายปีที่ผ่านมา คือการสร้างประสบการณ์ให้กับลูกค้า ในโฆษณาจึงมีคำว่า ‘Experience’ หรือ ‘ประสบการณ์’ อยู่เต็มไปหมด แต่กลยุทธ์นี้ไม่เพียงพอในยุคหลังโควิด สิ่งที่ธุรกิจต้องสร้างคือ เป็นแบรนด์ที่ลูกค้าเชื่อใจ (Trust)
ในขณะที่แบรนด์ต่างๆ กำลังต่อสู้กับภาวะเศรษฐกิจถดถอยทั่วโลก วิธีการตอบโต้กับลูกค้าเพื่อมอบประสบการณ์ที่ดีที่สุดนับเป็นสิ่งสำคัญ สอดคล้องกับรายงาน Digital Trend 2020 ที่เป้าหมายหลักในปีนี้อยู่ที่ประสบการณ์ของลูกค้า (Customer Experience - CX)
“Customer Journey” หรือ การเดินทางของลูกค้าตั้งแต่ขั้นตอนของการรับรู้ใน Brand ไปจนถึงการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการ คำนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการเริ่มต้นดำเนินธุรกิจโรงแรมใหม่อีกครั้ง หลังจากที่ต้องหยุดกิจการไปในช่วงโควิด-19
ความนิยมของร้านอาหารเสมือนจริง (Virtual Restaurant) หรือร้านที่ไม่ต้องมีหน้าร้านหรือโต๊ะสำหรับคนเข้ามานั่งรับประทานในร้านกำลังเพิ่มมากขึ้น สิ่งที่จำเป็นมีแค่พื้นที่ห้องครัวและแอปพลิเคชันส่งอาหาร
ไม่ใช่เรื่องใหม่ที่จะบอกว่า User Experience หรือการสร้างประสบการณ์ให้กับลูกค้าคือตัวชี้วัดความสำเร็จของธุรกิจในยุคนี้ แต่กลับไม่เคยตกเทรนด์ โดยเฉพาะในเวลานี้ที่เพิ่งผ่านวิกฤตโควิด-19 กันไปหมาดๆ
ไม่มีอะไรเหมือนเดิมหลังธุรกิจต้องเผชิญหน้ากับไวรัสโควิด-19 ซึ่งส่งผลกระทบในวงกว้างต่อทั้งธุรกิจขนาดเล็ก กิจการขนาดใหญ่ หลากหลายอุตสาหกรรม กดดันให้ผู้ประกอบการต้องปรับตัวรับมืออย่างทันท่วงที มีแผนกลยุทธ์ที่สอดรับกับแต่ละช่วงสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
“ความเชื่อมั่น” คือสิ่งสำคัญในช่วงที่กิจการต่างๆ เริ่มกลับมาเปิดทำการอีกครั้ง ท่ามกลางความไม่แน่นอนของสถานการณ์โควิด-19 และวิถีใหม่ในยุค New Narmal ซึ่งระดับความเชื่อมั่นต่อแบรนด์ที่สูง คือสิ่งสะท้อนความมั่นใจของลูกค้าในการตัดสินใจซื้อสินค้าหรือบริการ
โควิด-19 นำมาสู่ค้าปลีกรูปแบบใหม่ ที่การสร้างมาตรฐานด้านความสะอาดและความปลอดภัย จะกลายมาเป็นปัจจัยที่ผู้บริโภคให้ความสำคัญ ควบคู่ไปกับการรุกตลาดออนไลน์ เมื่อการกักตัวสร้างพฤติกรรมใหม่ที่เคยชินจนเป็นเรื่องปกติที่เรียก New Normal
กรุงศรี (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) และบริษัทในเครือ) ประกาศว่ากรุงศรี ฟินโนเวต ซึ่งเป็นบริษัทในเครือกรุงศรี กรุ๊ป ได้ลงทุนใน Grab Holdings Inc. หรือ Grab ซึ่งเป็นผู้ให้บริการซุปเปอร์แอป (Super App) ชั้นนำในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ผู้บริโภคยุคใหม่มีความชอบ ความต้องการ และไลฟ์สไตล์ที่แตกต่างไปจากผู้บริโภคในโลกยุคเก่า จึงนับเป็นความท้าทายของผู้ผลิตสินค้า เจ้าของแบรนด์ และผู้ประกอบการอย่าง SME ที่ต้องเข้าใจและปรับตัวให้ทันเกม โดยต้องอ่านใจลูกค้ายุคดิจิทัลให้ออก
ประเทศไทยได้เปลี่ยนผ่านสู่ยุคเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) โดยคาดว่ามีมูลค่าเศรษฐกิจดิจิทัลกว่า 1.6 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งถือเป็นอันดับสองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองจากอินโดนีเซีย และมีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่อง
ในยุคที่โลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว SME จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสร้างทักษะใหม่ๆ ให้กับทีมงานและบุคลากรในองค์กรของตัวเอง เพื่อเตรียมความพร้อมให้อยู่รอดและเติบโตสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงที่เชี่ยวกรากในวันนี้