ไม่มีความสำเร็จใดได้มาง่ายๆ และไม่มีทางลัดสู่ความสำเร็จ แต่ทุกธุรกิจล้วนต้องผ่านการเรียนผิดลองถูก สั่งสมประสบการณ์และความเชี่ยวชาญ จนเดินสู่สนามแห่งความสำเร็จได้ เช่นเดียวกับธุรกิจแฟรนไชส์ผัดไทยชาววังตะวันดา ที่เสิร์ฟความอร่อยมานานกว่า 10 ปี
ส.ขอนแก่น เป็นแบรนด์ที่คนไทยรู้จักกันดีในเรื่องของสินค้าพื้นเมือง อาทิ ไส้กรอกอีสาน หมูหยอง หมูแผ่น และกุนเชียงก็ดี แต่กว่าจะมามีชื่อเสียงขนาดนี้ก็ได้ผ่านอุปสรรคมามากมาย อย่างวิกฤตต้มยำกุ้งที่ทำให้เป็นหนี้สามร้อยล้านชั่วข้ามคืน
หลังจากสถานการณ์โควิดที่เกิดขึ้นจนถึงทุกวันนี้ ได้สร้างทั้งบาดแผลและบทเรียนมากมายทั้งในแง่การดำเนินชีวิต หรือแม้กระทั่งในการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย บริษัท สลิงชอท กรุ๊ป ได้สัมภาษณ์ CEO ในประเทศไทย จำนวน 50 ท่านถึงทิศทางการทำงานและการดำเนินธุรกิจในโลกอนาคตว่าจะเดินไปในทิศทางใด
ต้องยอมรับว่าผู้ประกอบการเอสเอ็มอีไทยในปัจจุบันสามารถพัฒนา “บรรจุภัณฑ์” หรือ “แพ็กเกจจิ้ง” ให้น่าสนใจได้ไม่แพ้แบรนด์ใหญ่ๆ ในตลาด
ใครจะรู้ว่าจากพ่อค้าขายไอศกรีมโมจิที่ตลาดนัดจตุจักร จนมีแฟรนไชส์ 300 กว่าสาขา วันนี้เขาคือเจ้าของไอศกรีมผลไม้ไทยที่ไม่ได้ขายแต่ตลาดนัดหากแต่ยังส่งออกตลาดกต่างประเทศที่สามารถครองตลาดเกาหลี 99%
ทำธุรกิจใครก็อยากเติบโต แต่จะโตแบบไหนนั้นขึ้นอยู่กับหลายๆ ปัจจัย เหมือนกับ เจ้าของร้านอาหารตำมั่ว ที่เปิดเผยว่าการขยายกิจการสู่ผู้ผลิตเจ้าของแบรนด์น้ำปลาร้าตำมั่ว นั้นส่วนหนึ่งมาจากวิกฤตโควิดทำให้เขาได้เรียนรู้ในสิ่งที่ไม่คาดคิดมาก่อนด้วยเช่นกัน
ถึงแม้ว่ากระแสชานมไข่มุกในปัจจุบันจะเบาลงและได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 ไปบ้าง แต่ธุรกิจชานมไข่มุกรายใหญ่ๆ ก็ยังคงเติบโตกันอย่างต่อเนื่อง
ยิ่งนานวันอาหารที่ทำจากพืช หรือ Plant-based food ได้รับความสนใจจากผู้บริโภคมากขึ้นเรื่อยๆ อาจเป็นด้วยเทรนด์การใส่ใจสุขภาพของผู้บริโภค รวมไปถึงการห่วงใยต่อสิ่งแวดล้อมรวมถึงการไม่เบียดเบียนสัตว์
จำเป็นไหม? 1 พื้นที่ต้องทำธุรกิจแค่อย่างเดียว
เป็นเวลากว่าสองปีแล้วที่วันนี้เรายังคงใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับไวรัสโควิด-19 สถานการณ์ดังกล่าวจึงส่งผลต่อพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป เพื่อเอาตัวรอดให้ได้ธุรกิจก็ควรต้องปรับตามไปด้วย
ที่มาเลเซีย อาหารชนิดหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างมาก และมีขายแทบทุกตรอกซอกซอยจนเรียกได้ว่าเป็นอาหารประจำชาติอย่างไม่เป็นทางการ อาหารที่ว่าคือ “เบอร์เกอร์” และผลิตภัณฑ์เบอร์เกอร์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดก็เห็นจะเป็น “แรมลีเบอร์เกอร์” (Ramly Burger)
เค้กหอมมนต์ที่กำลังพุ่งทะยานสุดตัว ต้องสะดุดชั่วคราวเมื่อสถานการณ์โควิด มาเยือน และส่งผลต่อพฤติกรรมการจับจ่ายผู้บริโภค จากตลาดนัดมาเป็นโลกออนไลน์