ในโลกธุรกิจการค้าเราคงคุ้นชินกับเทรนด์การค้าที่เปลี่ยนแปลงมาตลอดตั้งแต่ยุคก่อนที่เป็นการแลกเปลี่ยนกันแบบ Offline Market การซื้อขายทำได้ที่หน้าร้านค้า
ยอดคนติดตาม Facebook กว่า 1.1 ล้านคน และใน YouTube อีกกว่า 1.1 แสนคน คงจะพอบอกได้แล้วว่าการเล่าเรื่องแบรนด์สินค้าต่างๆ ในสไตล์ของ “นอท” สัณหณัฐ ทิราชีพ ของเพจ บ้านกูเอง เป็นที่ยอมรับจากลูกเพจได้มากน้อยแค่ไหน
ไม่มีบริษัทไหนที่ทำงานได้ด้วยตัวเองคนเดียว ทุกคนต้องมี Partner คนเล็กๆ หลายคนร่วมกันก็มีพลังมหาศาล
TikTok ได้นำร่องให้ผู้ค้าใน Shopify ที่มีบัญชี TikTok For Business จะสามารถเพิ่มแท็บ “Shopping” ไว้บนหน้าโพรไฟล์ TikTok ซึ่งจะเชื่อมต่อกับแคตตาล็อกสินค้าและกดสั่งซื้อได้ทันที เหมือนที่ Facebok หรือ Instagram มีในตอนนี้
สิ่งแวดล้อมก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่คนทำธุรกิจต้องใส่ใจ ยิ่งหากต้องทำการค้ากับต่างประเทศด้วยแล้วยิ่งต้องใส่ใจเป็นพิเศษ ขณะนี้มีกว่า 190 ประเทศทั่วโลกได้ให้การรับรองกับองค์การสหประชาชาติกำหนดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ SDGs ในปี 2030
ผลพวงจากไวรัสโควิดธุรกิจต่างๆ ต้องหาวิธีปรับตัว หนึ่งหลายวิธีก็คือใช้วิธีฉีกแนวจากธุรกิจเดิมแล้วไปเริ่มต้นธุรกิจใหม่ เหมือนกับโคเรีย วอลเปเปอร์ ตัดสินใจพลิกมาจับสินค้าที่ความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกปีอย่าง “ทุเรียน”
หากย้อนไปดูปี 2563 ซึ่งเป็นปีแรกของการแพร่ะระบาด ตัวเลขผลประกอบการของ SME มีอัตราลดลงถึง -9.1 เปอร์เซ็นต์ คำถามก็คือ แล้วสถานการณ์ปีนี้ล่ะ จะเป็นอย่างไร? นี่คือความเสี่ยงที่ SME ต้องเผชิญอย่างต่อเนื่องหลังจากนี้ 3 เรื่องหลักๆ
ผู้ประกอบการเชียงคานได้ร่วมกันจัดทำโปรเจกต์ “เชียงคาน สบายใจ” ขึ้นมา เพื่อช่วยป้องกันและต่อสู้กับโรคระบาดอย่างไวรัสโควิด-19 ในยามที่ไร้เงาจากนักท่องเที่ยว แถมยังต้องรับมือกับไวรัสร้ายที่มาเยือนถึงตัว
นี่คือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในเว็บไซต์ โซเชียลมีเดีย หรือมาร์เก็ตเพลสต่างๆ ในระยะเวลาเพียง 60 วินาทีเท่านั้น เพื่อทำความเข้าใจว่าผู้คนกำลังทำอะไร เพื่อที่จะหาทางพาแบรนด์ไปอยู่ในความสนใจของพวกเขาให้ได้
การช้อปปิงออนไลน์ไม่ใช่เรื่องใหม่อีกต่อไป โดยเฉพาะเมื่อเราเผชิญกับสถานการณ์โรคระบาดยิ่งทำให้อี-คอมเมิร์ซเติบโต ซึ่งวิธีที่จะเข้าสู่สนามตลาดออนไลน์ได้เร็ว ง่าย และไม่มีค่าใช้จ่าย ก็คือ ใช้โซเชียลมีเดียนี่เอง
ขณะที่ Alireza Kharazipour กำลังเพลิดเพลินกับการกินข้าวโพดคั่วพร้อมกับรับชมภาพยนตร์ ก็เกิดปิ้งไอเดียขึ้นมา ว่าถ้าหากนำข้าวโพดคั่วที่มีลักษณะคล้ายโฟมซึ่งมีน้ำหนักเบา แต่ขณะเดียวกันก็ยึดหยุ่น และมีความหนามากพอที่จะมาทำบรรจุภัณฑ์ได้
จากตัวเลขส่งออกที่เพิ่มขึ้นประกอบกับกระแสความต้องการทุเรียนจากตลาดจีน ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองการส่งออกทุเรียนสดของไทยในปี 2564 น่าจะเร่งตัวได้ราว 35-40 เปอร์เซ็นต์ มีมูลค่า 2,800-2,900 ล้านดอลลาร์ฯ