เทรนด์ของเทคโนโลยีการเงินหรือฟินเทคยังคงเป็นเมกะเทรนด์ที่มีโอกาสจะเติบโตได้อย่างต่อเนื่องในปี 2022
หากพูดถึงธุรกิจค้าปลีกเฟอร์นิเจอร์ที่คุณภาพดีราคาไม่แพงก็ต้องยกให้แบรนด์ “อิเกีย” จากสวีเดนที่ขึ้นแท่นร้านขายเครื่องเรือนและของใช้ในบ้านที่มีขนาดใหญ่สุดในโลก
ปรากฏการณ์เนื้อหมูแพงที่กำลังเป็นปัญหาเนื่องจากมีการฆ่าสุกรตัวเมีย และสุกรในฟาร์มเพื่อป้องกันการระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกรหรือ เอเอสเอฟ ปัญหาคล้ายกันนี้ ประเทศเพื่อนบ้านอย่างเวียดนามก็เคยเผชิญเมื่อปีที่แล้ว แต่เวียดนามหาทางออกด้วยการนำเข้าเนื้อหมูจากประเทศไทย
ซื้อก่อน จ่ายทีหลัง (Buy Now, Pay Later : BNPL) กำลังเป็นเทรนด์การจับจ่ายซื้อของบนโลกออนไลน์ เพราะคนที่ไม่มีบัตรเครดิตก็สามารถซื้อหรือผ่อนชำระได้เหมือนกัน และแม้แต่คนที่ถือบัตรเครดิตอยู่แล้วก็กำลังหันมาชำระเงินด้วยวิธีนี้
ยุคนี้การพิมพ์ดิจิทัลและพิมพ์บรรจุภัณฑ์กำลังเติบโตจนเรียกได้ว่าเป็น Sunrise ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป มองว่าการพิมพ์ดิจิทัลในจำนวนน้อยจะมีความสำคัญมากขึ้นในอนาคต จึงเริ่มขยับขยายหาโอกาสให้กับธุรกิจ
หลายคนมองว่าการที่หลายอุตสาหกรรมแทบจะทั่วโลกทยอยปิดตัวลงจนก่อให้เกิดแรงกระเพื่อมที่นำไปสู่การล้มเป็นโดมิโนของธุรกิจต่างๆ มาจากการระบาดของโควิด-19 แต่ความจริงแล้ว การปิดตัวของธุรกิจค้าปลีกเริ่มต้นเมื่อประมาณ 10 ปีที่แล้ว
ท่ามกลางความโหดร้ายของตลาดแรงงานในวันที่เกิดการแพร่ระบาดของไวรัส ยังมีสัญญานดีๆ ของ 5 อาชีพ 5 ธุรกิจ ที่ยังเป็นที่ต้องการในยุคโควิด-19 ไปหาคำตอบเรื่องนี้กัน
ภาครัฐได้มีการผ่อนคลายมาตรการล็อกดาวน์เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของสถานการณ์โควิด-19 ในระยะที่หนึ่งไปเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม ระยะที่สองเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม และล่าสุดระยะที่สาม ในวันที่ 1 มิถุนายน เพื่อให้กิจการและกิจกรรมหลายประเภทสามารถกลับมาให้บริการได้อีกครั้ง
ก่อนหน้านี้ใครๆ ก็ว่า CLMV คือตลาดแห่งความหวังของผู้ส่งออกไทย แต่ทว่าทันทีที่พายุไวรัสโควิด-19 พัดผ่าน ตลาดที่เคยหอมหวานกลับเปลี่ยนแปลงไป ในวันนี้ประเทศแห่งความหวังกำลัง “บอบช้ำ”
โลกการทำธุรกิจจะเปลี่ยนหน้าตาไปจากเดิม หลังวิกฤตไวรัสโควิด-19 ผ่านพ้น สิ่งสำคัญไม่ใช่แค่การอยู่รอดให้ได้ในวิกฤต แต่ชีวิตหลังวิกฤตนั้นผู้ประกอบการจะต้องทำยังไง นี่คือโจทย์ที่ท้าทายยิ่งกว่า
เมื่อสถานการณ์โควิดกำลังส่งผลกระทบต่อทุกคนบนโลกใบนี้ สิ่งที่จะเปลี่ยนไปอย่างแน่นอนนั่นคือพฤติกรรมของผู้บริโภค พวกเขาจะระมัดระวังในการใช้จ่ายมากขึ้น กังวลเรื่องของอนาคตมากขึ้น นี่เป็นโจทย์สำคัญของแบรนด์ที่ต้องคิดให้ออกว่าจะทำอย่างไร!
ธนาคารกรุงเทพ ประกาศลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ทั้ง 3 ประเภท เอ็มแอลอาร์ เอ็มโออาร์ และเอ็มอาร์อาร์ ลง 0.40 เปอร์เซ็นต์ เพื่อช่วยเหลือลูกค้าผู้ประกอบการและประชาชนลดต้นทุนทางการเงินรับมือโรคโควิด 19 มีผลตั้งแต่วันที่ 10 เมษายน 63