กลยุทธ์ต้องรอด ฉบับยักษ์ใหญ่แฟรนไชส์ธุรกิจอาหารอย่าง “เดอะ ไมเนอร์ ฟู้ด กรุ๊ป” ผู้ให้บริการด้านอาหารและฟาสต์ฟู้ดรายใหญ่ของประเทศ ในวิกฤตโควิด-19 พวกเขาใช้กลยุทธ์ไหนเพื่อไปต่อ
นาราวิสาหกิจ ผูัเปลี่ยนต้นกระจูดให้กลายเป็น “หลอดดูดรักษ์โลก” สร้างงานสร้างรายได้สู่ชุมชน และร่วมลดการใช้หลอดพลาสติกที่เป็นพิษกับโลก จนก่อเกิดเป็นโอกาสธุรกิจใหม่ที่ไม่ได้มีแค่ประเทศไทย แต่เป้าหมายคือส่งออกไปทั่วโลก
ใครจะคิดว่าร้านขนมครกใบเตย ที่เคยขายอยู่หน้าร้านสุกี้ดัง ตรงสยามสแควร์ และเป็นตำนานความอร่อยมานานกว่า 45 ปี วันหนึ่งจะกลายเป็นแบรนด์ขึ้นห้างฯ ยกระดับตัวเองสู่ “ร้านขนมสยาม” (KANOM SIAM) เจ้าของเมนูดัง “ขนมครกใบเตยผสมกัญชา” ในวันนี้ได้
เวลาเราได้ยินคำว่า “ธุรกิจครอบครัว” สิ่งแรกที่นึกถึงก็คือธุรกิจกงสี การแบ่งผลประโยชน์แบบครอบครัว ปัญหาระหว่างกลุ่มครอบครัวที่ทำงานด้วยกัน พนักงานเก่าแก่ที่ไม่ฟังคนรุ่นใหม่
โควิด-19 ทำให้หลายธุรกิจได้รับผลกระทบอย่างหนักหน่วง แต่เลือดนักสู้ของ SME คอยย้ำเตือนว่า ต่อให้จะเจอโจทย์หนักหนาแค่ไหน ธุรกิจก็ต้องไปต่อ วันนี้เราจึงมีสูตรง่ายๆ ที่จะเป็นแนวทางให้ SME สร้างธุรกิจใหม่ในธุรกิจเดิม
ไม่ว่าจะอุตสาหกรรมไหนก็ต้องปรับตัวเพื่ออยู่รอดและไปต่อด้วยกันทั้งนั้น เช่นเดียวกับ อุตสาหกรรมด้านการออกแบบ สำหรับ 3 นักออกแบบระดับมือรางวัล พวกเขามี “วิธีคิด” และ “ทำ” ที่น่าสนใจ ในการรับมือกับวิกฤต เพื่อเอาตัวรอดและเติบโตในยุค Next Normal
รู้หรือไม่ว่า เพียงครึ่งแรกของปี 2564 “ราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลก” ไม่ว่าจะเป็น ข้าว ข้าวโพด ข้าวสาลี ธัญพืชต่างๆ รวมถึงยางพารา ปาล์มน้ำมัน และน้ำตาล ต่างทยอยปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะราคาของวัตถุดิบอาหารสัตว์
ยุคนี้จะทำไข่เค็มธรรมดาได้ที่ไหน ถ้าอยากขายดีขายรุ่งในยุคโควิดก็ต้องรู้จัก “คิดต่าง” และใช้นวัตกรรมเข้ามาช่วย นี่คือ ไข่แดงเค็มผงสำเร็จรูปพร้อมปรุง และผงปรุงรสไข่เค็ม ที่กลายเป็นทางเลือกความอร่อยของยุคใหม่
ทำอย่างไรถึงจะเอาตัวรอด และข้ามผ่านวิกฤตครั้งนี้ไปได้ และอยู่รอดได้ในยุคดิจิทัล มาฟังตัวอย่างการปรับตัวจากแฟรนไชส์เจ้าดังระดับเจ้าของรางวัลสุดยอดแฟรนไชส์ไทยอย่าง “Mango Mania” และ “D’ORO” กัน
Business Ecosystems มีข้อดีมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับธุรกิจขนาดเล็ก หรือ SME ซึ่งมักมีทรัพยากรจำกัดและอาจขาดอำนาจต่อรอง ทำให้อาจพลาดข้อได้เปรียบต่างๆ เฉกเช่นเดียวกันกับที่ธุรกิจขนาดใหญ่พึงได้รับ
ธุรกิจดาวเด่นในช่วงเดือนเมษายน 2564 ที่ผ่านมา พบหนึ่งโอกาสธุรกิจหอมหวาน ที่สำคัญแม้แต่ SME ไซส์เล็กก็มีโอกาสทำกำไรได้กว่าครึ่ง นั่นคือ “ธุรกิจขายปลีก-ส่ง สินค้าทางเภสัชภัณฑ์และการแพทย์”
ช่วงเวลาของการเผชิญหน้ากับสถานการณ์โควิด-19 โฮสเทลย่านเมืองเก่าที่ชื่อ “Beehive Phuket Old Town Hostel” ปรับกลยุทธ์ธุรกิจ โดยใช้เวลาแค่ 2 เดือน คิดสูตรบะหมี่ออร์แกนิก สร้างแบรนด์ “บะหมี่จินหู่” ที่สามารถโตได้ถึง 200 เปอร์เซ็นต์