หากยิงคำถาม ถามผู้ประกอบการในวิสาหกิจชุมชน หรือกลุ่ม OTOP ว่าตัองการพัฒนาธุรกิจด้านใด คำตอบส่วนใหญ่ที่ได้มักเป็นไปในทิศทางเดียวกัน คือ อยากทำสินค้าให้สวย ดูดีเพื่อส่งออกไปต่างประเทศ โดยหารู้ไม่ไม่ว่านั่นอาจเป็นกับดักที่นอกจากไม่ทำให้เกิดกำไรแล้วสิ่งที่เกิดขึ้นอาจกลายเป็นขยะทางธุรกิจ
เมื่อผู้เป็นแม่ใช้ความพยายามทุ่มเททำทุกอย่าง เพื่อให้ลูกชายคนแรกของครอบครัวที่เป็นดาวน์ซินโดรม จากเด็กพิเศษให้กลายเป็นเสี่ยเงินล้านเจ้าของธุรกิจเสื้อคอกระเช้าเบสมายาวนานกว่า 10 ปี
“ไบโอไบรท์” ผู้ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดครบวงจรจากธรรมชาติ ที่เกิดในเมืองเล็กๆ อย่าง จ.เลย แต่มีชื่อเสียงไปทั่วประเทศ และยังได้รับรางวัลระดับประเทศการันตีความสำเร็จมาไม่น้อย แถมยังยืนหยัดอยู่ในตลาดมานานกว่า 2 ทศวรรษแล้ว
ปรีดาธพันธุ์ จันทร์เรือง” เขาคือนักธุรกิจเกษตร ที่ยอมทิ้งเงินเดือน 6 หมื่น กับตำแหน่งผู้จัดการโรงงาน ไปเป็นเกษตรกรที่บ้านเกิด สิ่งที่เขาจะคุยกับเรา ไม่ใช่ภาพของความสำเร็จ มาฟังเรื่องราวความชอกช้ำของคนทำนวัตกรรมอย่างเขาไปพร้อมกัน
“Maligood” แฟชั่นผ้าไหมสุดลักชัวรี่ ไอเดียทายาทวันเพ็ญไหมไทย สร้างแบรนด์-วิจัยโปรตีนไหม ไปบุกตลาดโลก
ถ้าผลิตภัณฑ์ OTOP ถูกต่อยอดโดยคนรุ่นใหม่ จากสินค้าชุมชนก็พร้อมอัพเกรดสู่ลักชัวรี่แบรนด์ได้ เหมือน “Maligood” (มะลิกู๊ด) ผลิตภัณฑ์แฟชั่นจากผ้าไหมไทยที่ขายกันในราคาหลักหมื่น ส่งออกไปทั้งสิงคโปร์ ญี่ปุ่น ฮ่องกง ออสเตรเลียและอเมริกา
“ข้าวเหนียว ไก่ย่าง” แต่ละพื้นที่ก็ล้วนมีสูตรเด็ดเฉพาะตัวที่แตกต่างกันออกไป จนปัจจุบันไม่ได้เติบโตอยู่แค่ในพื้นที่เท่านั้น แต่ยังกระจายออกไปในพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศด้วย
ถ้าเราลองมองดูการวางแผนการฟื้นฟูการท่องเที่ยวของ ททท. สิ่งที่เห็นคือ “การวางระยะเวลาการฟื้นฟูที่ชัดเจน” จากเริ่มต้นการคลาย Lockdown ระยะที่ 2 เลือกพื้นที่ “ทดลอง” เปิดประเทศเพื่อรองรับการท่องเที่ยว และสุดท้ายคือการเปิดประเทศเต็มตัว
ในวันที่คำว่า Digital Transformation หรือการเปลี่ยนองค์กรเป็นดิจิทัลถูกใช้กันเกลื่อนเกร่อ แต่ดูเหมือนว่าน้อยรายนักที่จะทำแล้วประสบความสำเร็จ แล้ว SME จำเป็นแค่ไหนที่จะต้องมาทรานส์ฟอร์มองค์กรให้เป็นดิจิทัล
ไอเดียบรรจุภัณฑ์สินค้าชุมชน ผลงานของ SME นักออกแบบอิสระ และนักศึกษา หนึ่งในดาวเด่นจากการประกวดบรรจุภัณฑ์ไทย ประจำปี 2563 (ThaiStar Awards 2020) ทั้งแบบที่มีจำหน่ายจริงในท้องตลาด และเป็นต้นแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่
“วีที แหนมเนือง” ร้านอาหารเวียดนามชื่อดังเมืองอุดร ที่เริ่มต้นขึ้นจากร้านเล็กๆ เมื่อยี่สิบกว่าปีก่อน แต่อยู่ดีๆ วันนี้กลับกลายต่อยอดธุรกิจขึ้นมาจนกลายเป็นคอมมูนิตี้มอลล์ขนาดใหญ่ของจังหวัด ต้อนรับนักท่องเที่ยว และแหล่งรวมสินค้าชุมชนของภาคอีสานมากมาย
“เทพไทย” คือยาสีฟันสมุนไพรไทยที่ริเริ่มจากคนกรุงเทพฯ แต่เลือกที่จะไปเติบโตอยู่ในต่างจังหวัดกับสภาพแวดล้อมที่มีความสุข ชีวิตไม่ต้องเร่งรีบอะไรมากมาย และถึงแม้จะมีโอกาสให้ต้องขยายธุรกิจเพิ่มขึ้นอีกครั้งหนึ่ง คำตอบที่ได้ก็ยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลงไป
หนึ่งในจุดเด่นของสินค้าโอทอปจากชุมชนต่างๆ คือ การหยิบอัตลักษณ์ที่มีจากชุมชนมาสร้างให้เกิดมูลค่าเพิ่มได้ แต่หลายครั้งก็กลับไม่ได้รับการตอบรับที่ดีเท่าที่ควร ทำอย่างไรจึงจะกลายเป็นสินค้ายอดนิยม สร้างแบรนด์ให้เป็นที่ยอมรับได้