ภาครัฐได้มีการผ่อนคลายมาตรการล็อกดาวน์เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของสถานการณ์โควิด-19 ในระยะที่หนึ่งไปเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม ระยะที่สองเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม และล่าสุดระยะที่สาม ในวันที่ 1 มิถุนายน เพื่อให้กิจการและกิจกรรมหลายประเภทสามารถกลับมาให้บริการได้อีกครั้ง
“สีฟ้า” ห้องอาหารคนกรุง ที่ดำเนินธุรกิจมานานกว่า 84 ปี ที่เริ่มต้นมาจากร้านเล็กๆ เพียงห้องเดียว จนปัจจุบันสามารถขยายสาขาได้กว่า 21 แห่ง
ร้านขายของคีโตอาจดูเป็นธุรกิจไม่ยาก แค่หยิบของคีโตมาวางขายในร้าน แต่ร้านที่จะได้ใจลูกค้าคงต้องมีอะไรมากกว่านั้น อย่าง ร้าน COUP de CARB ที่ไม่ได้เป็นเพียงร้านขายสินค้าธรรมดาๆ ทว่าต้องการเป็น Community ที่รวมตัวคนที่ชอบอะไรเหมือนๆ กัน
ในยามที่เกิดวิกฤตนับเป็นความท้าทายของผู้ประกอบการ SME อย่างยิ่ง ที่จะต้องนำพาองค์กรข้ามผ่านวิกฤตนั้นไปให้ได้ โดยที่องค์กรยังแข็งแกร่ง ลูกค้ายังภักดี ขณะที่พนักงานก็ยังคงมีไฟและมีใจกับองค์กร
แม้ไวรัสจะระบาด โควิดจะมาเยือน ก็ไม่อาจสกัดกั้นการช้อปปิ้งของสาวจีนได้! เพราะสาวจีนนั้นรักความสวยงาม ชอบดูแลตัวเอง ที่สำคัญยังรักแบรนด์ไทยด้วยนะ! นี่จึงเป็นโอกาสดีของผู้ประกอบการไทยในการบุกไปคว้าใจนักช้อปตัวแม่แห่งแดนมังกร
ในยุคที่สภาพแวดล้อมทางธุรกิจเปลี่ยน ลูกค้าลดลง คนระวังการใช้จ่าย และยังกลัวพิษภัยของไวรัส ผู้ประกอบการร้านอาหาร ต้องเร่งปรับตัวสู่บรรทัดฐานใหม่ในการทำธุรกิจ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป และยังอยู่รอดได้ในโลกใบใหม่นี้
ช่วงเวลาวิกฤตเช่นนี้ ผู้บริโภคส่วนใหญ่ลดการซื้อสินค้าฟุ่มเฟือยลง อย่างเช่นเสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้าเพราะหลายคนต้องกักตัวอยู่บ้าน ไม่ได้ออกไปไหน ทำให้ยอดขายสินค้าแฟชั่นลดลง
ใครว่าสายเที่ยวเขามองหาแต่ความสวย ความสบายเพียงอย่างเดียว เพราะเดี๋ยวนี้พวกเขาอยากพักโรงแรมที่ดีต่อใจ และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้นด้วย โรงแรมต่างๆ ที่ไม่เคยมองถึงจุดนี้อาจถึงเวลาปรับตัวครั้งใหญ่ เพื่อให้กลายเป็นโรงแรมแบบ Eco-friendly
เพราะโลกหลังโควิด-19 จะเปลี่ยนไป หลายคนพูดถึงคำว่า New Normal และสำหรับร้านอาหาร ร้านกาแฟเองก็เป็นธุรกิจที่ต้องปรับตัวกันครั้งใหญ่ เพราะพฤติกรรมของผู้บริโภคจะเปลี่ยนไปอย่างมากหลังจากนี้ คำถามที่ทุกคนอยากรู้คือ โลกของร้านอาหารหลังโควิดจะเปลี่ยนไปแบบไหน ผู้ประกอบการต้องเตรียมรับม..
“Virginia Satir” นักบำบัดโรคในครอบครัวชื่อดังของโลก เคยกล่าวไว้ว่า มนุษย์เราต้องการการกอดวันละ 4 ครั้ง เพื่อการดำรงชีวิต ต้องการการกอดวันละ 8 ครั้ง เพื่อการดำเนินชีวิต และต้องการการกอดวันละ 12 ครั้ง เพื่อการเจริญเติบโต
ในการทำธุรกิจ “เครดิตหรือสินเชื่อ” เป็นปัจจัยสำคัญที่เข้ามามีบทบาทในการขับเคลื่อนกิจการ เพราะสามารถช่วยเสริมสภาพคล่องทางการเงิน อีกทั้งยังมีประโยชน์สำหรับเหตุการณ์ฉุกเฉินที่ไม่สามารถคาดเดาล่วงหน้าได้ด้วย
ความท้าทายของการทำธุรกิจในยุคไวรัสระบาด คือการประคองตัวให้รอดท่ามกลางภาวะวิกฤต ผู้บริโภคกักตัว ไม่ใช้จ่าย แต่ถ้าคุณเข้าใจพวกเขา รู้ว่าพวกเขาต้องการอะไรในช่วงวิกฤต คุณก็สามารถพลิกวิกฤตเป็นโอกาสในยามยากได้!