ทุกคนรู้ดีว่าคนที่มีความสุขมักจะทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า และอยู่กับองค์กรได้นานกว่า ซึ่งรอยยิ้มของพนักงานจึงส่งผลถึงรอยยิ้มของผู้ประกอบการด้วยเหมือนกัน
แค่พูดถึงคำว่า ‘ประชุม’ ก็ทำให้หลายคนเกิดอาการเบื่อหน่ายขึ้นมาทันที วันนี้เราเลยมีไอเดียพลิกการประชุมที่น่าเบื่อให้เต็มไปด้วยความสนุก แถมยังได้งานจริงๆ อีกด้วย
ท่ามกลางความโหดร้ายของตลาดแรงงานในวันที่เกิดการแพร่ระบาดของไวรัส ยังมีสัญญานดีๆ ของ 5 อาชีพ 5 ธุรกิจ ที่ยังเป็นที่ต้องการในยุคโควิด-19 ไปหาคำตอบเรื่องนี้กัน
ในยามที่เกิดวิกฤตนับเป็นความท้าทายของผู้ประกอบการ SME อย่างยิ่ง ที่จะต้องนำพาองค์กรข้ามผ่านวิกฤตนั้นไปให้ได้ โดยที่องค์กรยังแข็งแกร่ง ลูกค้ายังภักดี ขณะที่พนักงานก็ยังคงมีไฟและมีใจกับองค์กร
Qualtrics และ SAP ทำการสำรวจพนักงาน 2,700 คนใน 10 อุตสาหกรรมทั่วโลก พบว่านับตั้งแต่มีการระบาดและการล็อกดาวน์เมืองในช่วงเดือนมี.ค-เม.ย 2563 ที่ผ่านมาผู้คนถึง 75 % รู้สึกโดดเดี่ยวทางสังคมมากขึ้น 67% เครียดมากขึ้น อีก 57 % รู้สึกวิตกกังวล และมีคนถึง 53 % ที่รู้สึกอ่อนล้าทางอารมณ์
ผู้หญิง คือเพศที่ค่อนข้างมีความเฉพาะตัวสูง บางคนถึงขนาดตั้งฉายาให้ว่า ผู้หญิง คือสิ่งมหัศจรรย์ทางชีวภาพที่มีความหลากหลายของโลก แต่รู้ไหมว่านิสัยแบบผู้หญิงๆ นี่แหละที่สามารถช่วยกอบกู้ให้ผ่านพ้นวิกฤตไปได้
ในการทำธุรกิจ “คน” คือหัวใจสำคัญที่จะร่วมขับเคลื่อนองค์กรให้เดินหน้าต่อไปได้ แต่การจะรักษาคนเก่งให้อยู่กับเราได้นานๆ นั้นไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะคนต่างเจนก็ล้วนต่างความต้องการ ต่างความมุ่งมั่นปรารถนา
เมื่อไหร่ก็ตามที่คุณได้พนักงานที่มอบใจให้องค์กรแล้ว เมื่อนั้นพวกเขาจะทุ่มเทเพื่อคุณ พร้อมจะฝ่าฟันปัญหาและอุปสรรคไปกับคุณ และช่วงเวลาวิกฤตเช่นนี้ เป็นช่วงเวลาพิสูจน์ได้ดีว่าคุณเป็นผู้นำที่พนักงานรักมากแค่ไหน!
ในการทำธุรกิจแน่นอนว่าการพบเจอปัญหาอุปสรรคต่างๆ ย่อมเป็นเรื่องปกติที่เกิดขึ้นอยู่แล้ว ซึ่งก็มีทั้งปัญหาที่ควบคุมได้และควบคุมไม่ได้ ในครั้งนี้จึงอยากชวนผู้ประกอบการ SME มาเปลี่ยนวิกฤตให้เป็นโอกาส โดยการตรวจเช็ก สำรวจธุรกิจของตัวเองว่ามีอะไรที่เราควรปรับและเปลี่ยน หรือมีอะไรที่พอ..
มาตรการภาครัฐเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของ COVID-19 ทั้งมาตรการ Lockdown และการรณรงค์ด้าน Social Distancing มีผลกระทบโดยตรงต่อภาคธุรกิจและการจ้างงาน ซึ่งกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ เป็นการจ้างงานในธุรกิจ SME ที่มีความเปราะบางกว่าธุรกิจขนาดใหญ่
ความท้าทายอย่างยิ่งยวดของผู้ประกอบการ เมื่อเกิดสถานการณ์วิกฤต ไม่ใช่เพียงแค่การคิดกลยุทธ์ เพื่อรับมือกับปัญหา และประคับประคองกิจการให้อยู่รอดได้เท่านั้น แต่ยังรวมถึง “การจัดการการสื่อสารในภาวะวิกฤต” (Crisis Communication Management) ได้ด้วย
ถ้าเปรียบการสร้างองค์กรธุรกิจขึ้นมา จะว่าไปก็เหมือนการสร้างครอบครัวขึ้นมาครอบครัวหนึ่ง ที่มีเจ้าของกิจการเป็นเหมือนหัวหน้าครอบครัว และคนในองค์กรก็เปรียบประหนึ่งสมาชิกในครอบครัวนั้น ซึ่งหากองค์กรใดก็ตามสามารถสร้างครอบครัวให้เข้มแข็ง ดูแลสมาชิกทุกคนให้มีความสุขได้ องค์กรนั้นก็ย่อ..