จากร้านเบอร์เกอร์ฟู้ดทรัคของดี อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา ที่เปิดขายแค่วันละ 3-4 ชม. ก็ขายหมด ลูกค้าต่อคิวเข้ามาซื้อกันไม่ขาด วันนี้ย้ายฐานที่ตั้งมา อ.เชียงคาน จ.เลย เปิดร้านเต็มรูปแบบ แต่คงคอนเซปต์เดิมขายไม่เกินร้อย
ในขณะที่หลายคนมองว่าการขายของผ่านช่องทางเดลิเวอรี นั้นผู้ประกอบการมักเสียเปรียบ "แพร-กรณัฐ วรวงษ์เทพ" เจ้าของแบรนด์ Koala Burgers and More ไม่คิดเช่นนั้น กลับมองว่าถ้ารู้จักสินค้าตัวเองเป็นอย่างดี วิธีการทำประโยชน์เพื่อการตลาดจาก Application ยังมีช่องทางอยู่เสมอ
ยิ่งนานวันอาหารที่ทำจากพืช หรือ Plant-based food ได้รับความสนใจจากผู้บริโภคมากขึ้นเรื่อยๆ อาจเป็นด้วยเทรนด์การใส่ใจสุขภาพของผู้บริโภค รวมไปถึงการห่วงใยต่อสิ่งแวดล้อมรวมถึงการไม่เบียดเบียนสัตว์
ธุรกิจไหนที่เติบโตได้ดีก็มักมีการแข่งขันสูง เช่น ตลาดเนื้อสัตว์ทางเลือก ทำให้ผู้ที่อยู่ในธุรกิจต้องหาวิธีใหม่ๆ ที่ทำให้สินค้ามีความโดดเด่นกว่าแบรนด์อื่นๆ วันนี้เราจะพาไปดูแนวคิดที่นอกกรอบของบริษัท Primeval Foods ที่เพาะเลี้ยงเนื้อสัตว์ทางเลือกที่แปลกใหม่แตกต่างจากคู่แข่งอย่างสิ้นเชิง
ที่มาเลเซีย อาหารชนิดหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างมาก และมีขายแทบทุกตรอกซอกซอยจนเรียกได้ว่าเป็นอาหารประจำชาติอย่างไม่เป็นทางการ อาหารที่ว่าคือ “เบอร์เกอร์” และผลิตภัณฑ์เบอร์เกอร์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดก็เห็นจะเป็น “แรมลีเบอร์เกอร์” (Ramly Burger)
ถึงจะต้องทิ้งเบอร์เกอร์ไปเป็นร้อยชิ้น ทุ่มเททำเองชิมเองจนน้ำหนักเพิ่มขึ้น 5 กิโลกรัม แต่ทุนที่มีจำกัดแค่หลักหมื่น ไม่ทำให้สองหนุ่มจากหนองคายทิ้งเป้าหมายอยากมีกิจการของตนเอง ท้ายสุดพวกเขาก็มีกิจการร้าน BURGER ลาออก
อาหารสุขภาพกำลังเป็นเทรนด์มาแรงแห่งโลกยุคใหม่ ไม่เว้นแม้แต่อาหาร Junk Food หรือ Fast Food ที่หลายคนมองว่าไม่มีประโยชน์อย่างเบอร์เกอร์
ในอนาคตหุ่นยนต์จะเข้ามาดูแลเรื่องอาหารการกินของผู้คน และภาพแบบนี้กำลังเป็นรูปเป็นร่างขึ้นเรื่อยๆ อย่างน้อยตอนนี้ก็มีหุ่นยนต์ที่เตรียมเบอร์เกอร์อร่อยๆ ให้แล้วที่ร้าน Creator Burger
ราพูดถึงการเติบโตของ Plant-based หรือเนื้อสัตว์ที่ทำจากพืชกันมาตลอด 2-3 ปีผ่านมา และเรื่องนี้ทำให้คนในอุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์กังวลว่ามันจะมาแย่งตลาดเบอร์เกอร์แบบดั้งเดิมหรือไม่
ธุรกิจที่จับกระแส "bully" พลิกกลับมาเป็นการแซะตัวเองเริ่มมีให้เห็นในการทำคอนเทนต์ เจาะตลาดผู้บริโภคยุคใหม่ที่เรียกว่าได้ใจ กลายเป็นไวรัล และสร้างความแตกต่างให้กับแบรนด์ได้เป็นอย่างดี
ความนิยมของร้านอาหารเสมือนจริง (Virtual Restaurant) หรือร้านที่ไม่ต้องมีหน้าร้านหรือโต๊ะสำหรับคนเข้ามานั่งรับประทานในร้านกำลังเพิ่มมากขึ้น สิ่งที่จำเป็นมีแค่พื้นที่ห้องครัวและแอปพลิเคชันส่งอาหาร
หนังสือ Repositioning สอนให้รู้จักกับการวางตำแหน่งใหม่ที่เหมือนกับการ “แปะป้าย” ให้กับตัวเรา เพื่อให้ผู้คนหรือกลุ่มลูกค้ารู้ว่า “เราคือใคร” แต่ความน่าสนใจอยู่ตรงแนวคิดที่เราสามารถ Repositioning หรือ “แปะป้าย” ให้กับคู่แข่งได้ด้วย