เกือบ 2 ปีที่ภาคการท่องเที่ยวไทยหยุดชะงัก นี่คือเสียงจากผู้ประกอบการกว่า 30 คนเป็นตัวแทนสื่อสารปัญหาและเป็นกระบอกเสียงให้คนในธุรกิจท่องเที่ยวไม่ว่าจะระดับใหญ่ กลาง หรือระดับชุมชน พร้อมเสนอวิธีทางแก้ไขร่วมกัน
บางคนรู้สึกว่าหากสถานการณ์กลับไปเป็นปกติ การกลับไปทำงานในสำนักงานแบบ 100 เปอร์เซ็นต์น่าจะดีกว่า บางคนก็รู้สึกว่าชอบการทำงานแบบระยะไกล แล้วผู้ประกอบการจะรู้ได้อย่างไร ว่าการทำงานแบบไหนจะเหมาะสำหรับธุรกิจของตัวเอง
หลังโควิดเศรษฐกิจและการค้าโลกจะเปลี่ยนไป ทั้งการใช้ระบบอัตโนมัติต่างๆ มาทดแทนแรงงานคน การย้ายฐานการผลิตกลับประเทศต้นทาง ตลอดจนการใช้นโยบายการเงินแบบรูปแบบใหม่ของธนาคารกลาง ฉะนั้นต้องปรับตัวให้ทันใน 3 เรื่องหลักต่อไปนี้
ปี 2020 เต็มไปด้วยบทเรียนและรอยแผลที่ผู้ประกอบการธุรกิจต้องเผชิญ คุยกับผู้ประกอบการในหลากแวดวงเพื่อให้ร่วมนิยาม “3 คำ” กับความเป็นไปในปี 2020 รวมถึงสะท้อนวิสัยทัศน์ถึงปีหน้าฟ้าใหม่ 2021
โลกธุรกิจต้องเผชิญหน้ากับการเปลี่ยนแปลงที่ยากจะคาดเดาได้ ตลอดจนสถานการณ์โควิด-19 ที่ยังคงยืดเยื้ออยู่ในระดับโลก ที่นับเป็นตัวเร่งให้เกิดความท้าทายภายใต้บริบทใหม่ในยุค Next Normal ที่ทำให้ผู้ประกอบการต้องเร่งปรับตัว เพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลง
การทำท่องเที่ยวชุมชนในวันนี้แตกต่างไปจากยุคก่อน เพราะเราอยู่ในโลกที่มีเทคโนโลยี และเครื่องมือเครื่องไม้มากมายให้หยิบจับมาใช้ แม้ชุมชนจะทำเรื่องพวกนี้เองไม่ได้ แต่ก็มีผู้ประกอบการและผู้เชี่ยวชาญที่พร้อมจับมือกับแหล่งท่องเที่ยวชุมชน พลิกโฉมการท่องเที่ยวด้วยนวัตกรรม
หลังโควิด -19 หลายอย่างถูกเปลี่ยนแปลงไปด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค ที่เริ่มมีความคุ้นชินกับการใช้ชีวิตที่เว้นระยะห่างทางสังคม และใส่ใจกับสุขอนามัยของตนเองมากขึ้น ธุรกิจโรงแรมอีกอุตสาหกรรมหลัก จึงไม่สามารถหลีกเลี่ยงการถูกดิสรัปต์จาก New Normal ได้
การระบาดของโควิด-19 อาจทำให้กำลังซื้อของคนชั้นล่างและชั้นกลางลดลง คนสองกลุ่มนี้ชะลอหรือลดปริมาณการซื้อ ตลอดจนการลงทุนในเกือบทุกด้าน แต่ทว่า “กลุ่มเศรษฐีจีน” ยังมีกำลังซื้อสูงเช่นเดิม และมีแนวโน้มที่จะช้อปปิ้งหนักขึ้นด้วยซ้ำ
การควบรวมกิจการ หรือที่เรียกกันว่า M&A (Mergers & Acquisitions) คือ การซื้อหุ้น สินทรัพย์ หรืออื่นๆ เพื่อให้ได้อำนาจควบคุม ครอบครองกิจการ ซึ่งปัจจุบันหลายบริษัททั่วโลกเดินหน้าขยายธุรกิจทั้งในประเทศและต่างประเทศผ่านการควบรวมกิจการกันมากขึ้น M&A ทวีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐก..
ในสถานการณ์ไวรัสโควิด-19 หลายอุตสาหกรรมต้องเผชิญกับวิกฤต แต่อุตสาหกรรมอาหารกลับได้รับอานิสงส์ ทว่าความหอมหวานนี้จะยั่งยืนแค่ไหน หลังจากนี้ต้องปรับเกมรุกอย่างไร อุตสาหกรรมอาหารไทยถึงจะกลับมาแข็งแกร่งได้ในตลาดโลก
ไม่มีคำว่าเหมือนเดิมอีกต่อไป หลังจากที่ไวรัสโควิดมาเยือน ทุกอย่างเปลี่ยนไปโดยเฉพาะวิถีการทำงานที่องค์กรต้องปรับตัวกันอย่างหนัก เช่น การให้พนักงาน Work From Home เป็นต้น
วันนี้ผู้ผลิตเฟอร์นิเจอร์ไทยอาจกำลังบาดเจ็บจากวิกฤตไวรัส แต่ในวันที่ทุกอย่างสงบลง นั่นคือโอกาสที่จะได้เริ่มต้นใหม่อีกครั้ง ด้วยกลยุทธ์ใหม่ และ Mindset ที่แปรเปลี่ยน จากเคยกินอิ่ม ต้องสมถะลง รักษาสมดุล และคำนึงถึงโจทย์ใหม่ๆ ในวิถี New Normal