“จึงเตี่ยฮวด” ร้านขายกระดาษไหว้เจ้า อายุร่วม 60 ปีย่านเยาวราช ในวันที่เทคโนโลยีเติบโตมากขึ้น มีการรณรงค์แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ธุรกิจดังกล่าวจะได้รับผลกระทบอะไรหรือเปล่า ลองมาฟังคำตอบจาก "พีรสรณ์ จิรพิชิตชัย "ทายาทรุ่นที่ 3 กัน
ถ้าเอ่ยชื่อ "โกตุ๊ก - ฉลอง ลอยสมุทร" แทบไม่มีชาวโต้คลื่นคนไหนในภูเก็ตไม่รู้จัก เพราะเขา คือ เจ้าของโรงเรียนสอนเซิร์ฟที่ไม่ได้คิดค่าสอนเป็นจำนวนเงิน แต่ให้จ่ายด้วยการช่วยเก็บกวาดขยะชายหาด และอุปกรณ์ทำความสะอาด เช่น ถุงดำ ถุงมือ ไม้คีบขยะแทน
สิ่งแวดล้อมยังเป็นประเด็นที่หลายฝ่ายให้ความสนใจ โดยเฉพาะสหภาพยุโรปได้เดินหน้าในการในเรื่องการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (Climate change) อย่างต่อเนื่อง ตามแผน European Green Deal นอกเหนือจากมาตรการจัดเก็บภาษีคาร์บอนสำหรับสินค้าข้ามแดน (Carbon Border Adjustment Mechanism: CBAM) สำหรับกลุ่มสินค้าที่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจำนวนมากที่จะเริ่มดำเนินการในปี 2566
ธุรกิจดาวเด่นในช่วงเดือนเมษายน 2564 ที่ผ่านมา พบหนึ่งโอกาสธุรกิจหอมหวาน ที่สำคัญแม้แต่ SME ไซส์เล็กก็มีโอกาสทำกำไรได้กว่าครึ่ง นั่นคือ “ธุรกิจขายปลีก-ส่ง สินค้าทางเภสัชภัณฑ์และการแพทย์”
ในวิกฤตย่อมมีโอกาสฉันใด ในสภาพเศรษฐกิจฝืดเคืองและสถานการณ์โรคระบาดเช่นนี้ ก็ย่อมมีสินค้าที่ขายดีพุ่งสวนกระแสขึ้นมาฉันนั้น จนกลายเป็นสินค้าขายดีแห่งปี 2020 ซึ่งหลายชนิดอาจมีมานานเป็นนับสิบปีแต่กลับเพิ่งมาแจ้งเกิดก็ปีนี้
การระบาดของโควิด-19 สร้างความเปลี่ยนแปลงให้กับวิถีชีวิตของคน ผู้คนหันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้นจนหน้ากากอนามัย หรือแอลกอฮอล์มีราคาสูงขึ้น ขณะเดียวกันกลุ่มสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ขายดีกว่าที่เคยด้วย
พิษโควิด-19 ทำให้หลายสถานที่หลายกิจการต้องปิดตัวลงชั่วคราว แต่หลังจากมาตรการปลดล็อกดาวน์ที่ทยอยเปิดขึ้นทีละกิจการ ทำให้ผู้คนหันออกมาจับจ่ายใช้สอยนอกบ้านกันมากขึ้น "ตลาดต้นไม้จตุจักร” ก็เป็นหนึ่งในนั้น ลองมาดูกันสิว่าบรรยากาศวันนี้ที่กลับมาเปิดตัวอีกครั้งจะเป็นอย่างไร มีพฤต..
ช่วงเวลาวิกฤตเช่นนี้ ผู้บริโภคส่วนใหญ่ลดการซื้อสินค้าฟุ่มเฟือยลง อย่างเช่นเสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้าเพราะหลายคนต้องกักตัวอยู่บ้าน ไม่ได้ออกไปไหน ทำให้ยอดขายสินค้าแฟชั่นลดลง
ยังคงใช้ได้เสมอ กับคำว่า “โอกาสในวิกฤต” ถ้าเพียงแค่ผู้ประกอบการเปลี่ยนมุมคิด และตั้งรับกับสถานการณ์วิกฤตกันใหม่ แม้แต่ช่วงเวลาที่ยากลำบากสุดๆ ก็อาจเกิดเป็นโอกาสธุรกิจที่สร้างงานสร้างรายได้ให้กับคุณได้
ไทยพัฒน์ฯ จัดทำแนวทางรับมือของภาคธุรกิจต่อสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ “Business Response Guidance on COVID-19” เผยแพร่ให้องค์กรธุรกิจ เพื่อดูแลผลกระทบทั้งในระยะสั้น และรักษาไว้ซึ่งคุณค่าขององค์กรในระยะยาว
ในขณะที่ไวรัส COVID-19 กำลังระบาดหนักเช่นนี้ “ธุรกิจร้านอาหาร” ถือเป็นหนึ่งในธุรกิจที่ได้รับผลกระทบค่อนข้างมาก ซึ่งต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายต่างๆ ไว้มากมาย ทั้งค่าต้นทุนวัตถุดิบที่เป็นของสด ค่าจ้างพนักงาน ค่าเช่าสถานที่ ฯลฯ ขณะที่ปริมาณลูกค้ากลับลดลงไปมหาศาล
ไวรัสโคโรนา ไม่ได้กำลังเล่นงานแค่คนจีนเท่านั้น แต่กำลังปล่อยเชื้อวิกฤติใส่ผู้ประกอบการไทยด้วย แม้แต่ SME ที่ทำสินค้าป้อนตลาดจีน หรือมีนักท่องเที่ยวจีนเป็นเป้าหมายหลัก มาดูวิธีตั้งรับวิกฤติไวรัสโคโรนาให้ได้ใจลูกค้าจีน ทั้งในวันนี้และอนาคตกัน