ความคิดที่ว่าสินค้าดีจนคนร้องว้าว จะมัดใจให้ลูกค้าซื้อสินค้าได้นั้น อาจไม่ใช่แค่ความเชื่อที่ผิด แต่ยังทำให้พลาดโอกาสทางธุรกิจอีกด้วย ดังกรณีของเจ้าของแบรนด์ วุ้นระเบิด ไหวตัวทัน เปลี่ยนความคิดเพิ่มความสำคัญกับแพ็กเกจจิ้ง 50% พอๆ กับการผลิตสินค้า ผลก็คือยอดขายที่โตขึ้นถึง 300%
เชื่อว่าผู้คนในหลายประเทศที่เติบโตมาช่วงทศวรรษ 1980-1990 จำนวนไม่น้อยคุ้นเคยกับเค้ก Sara Lee หรือเค้กฟอยล์หลายบ้านซื้อติดตู้เย็นจะทานเองหรือไว้สำหรับรับแขก วันนี้เล่ามาดูจุดเริ่มต้นของเค้กชนิดนี้กัน
เชื่อไหมว่า community แหล่งรวมพลบนโซเชียลนั้นมีพลังแฝง มากกว่าแค่การขายสินค้า หลายๆ แบรนด์จึงหันมาใช้ Community เป็นพื้นที่สร้างโอกาสทางธุรกิจ เช่น LEGO ที่รอดจากการล้มละลายมาได้
“แพ็กเกจจิ้ง” เปรียบเสมือนด่านแรกที่จะหยุดความสนใจของลูกค้า ต่อให้สินค้าดีแค่ไหนแต่ถ้าแพคเกจจิ้งไม่โดน ยอดขายที่หวังว่าจะปังๆ อาจจะพังไม่เป็นท่าเลยทีเดียว
“วีที แหนมเนือง” ร้านอาหารเวียดนามชื่อดังเมืองอุดร ที่เริ่มต้นขึ้นจากร้านเล็กๆ เมื่อยี่สิบกว่าปีก่อน แต่อยู่ดีๆ วันนี้กลับกลายต่อยอดธุรกิจขึ้นมาจนกลายเป็นคอมมูนิตี้มอลล์ขนาดใหญ่ของจังหวัด ต้อนรับนักท่องเที่ยว และแหล่งรวมสินค้าชุมชนของภาคอีสานมากมาย
ในสถานการณ์วิกฤต หลายอย่างถูกหยุดไว้ชั่วคราว แต่ในเวลาที่ต้องหยุดทุกอย่างไว้นั้น กลับมอบโอกาสในการกลับมามองจุดด้อยของธุรกิจ แล้วทำการแก้ไข เพื่อทำให้ผลิตภัณฑ์ของเรามีความแข็งแกร่งมากยิ่งขึ้นหลังวิกฤตผ่านพ้น เช่นเดียวกับ วุ้นระเบิด