การทำร้านหนังสือในยุคที่สื่อสิ่งพิมพ์ได้ทยอยปิดตัวไป นับเป็นความกล้าที่บางคนเอาความรักในการอ่านมาเดิมพัน โดยเฉพาะในเมืองเล็กๆ อย่างสงขลา ที่คนภายนอกแทบมองไม่เห็นโอกาส แต่ dot.b เกิดขึ้นเพื่อเป็นพื้นที่ให้เมืองไม่ขาดร้านหนังสือ
ในยุคที่โซเชียลมีเดีย และเทคโนโลยีดิจิทัลกำลังเบ่งบาน “หนังสือ” อาจกลายเป็นสื่อหนึ่งที่ถูกมองข้าม และไม่ได้รับความนิยมมากเหมือนเก่า จนหลายคนอาจพาลคิดว่าการเปิดร้านหนังสือในยุคนี้ ไม่ใช่ตัวเลือกที่ดีนักในการทำธุรกิจ
“Phan Ma Ba Trang” ร้านหนังสืออิสระร้านเดียวในตรังที่ยังเปิดดำเนินกิจการอยู่ได้ เปิดเฉพาะศุกร์ เสาร์ อาทิตย์เท่านั้น ร้านหนังสือที่ให้มูลค่าจากเนื้อหา ไม่ใช่สภาพหนังสือ ไม่ขายออนไลน์และไม่ลดราคา เพราะเชื่อว่า “คุณค่าอยู่ที่เนื้อหา ไม่ใช่ภาพลักษณ์”
"Shared bookstore" คือ โมเดลใหม่ของธุรกิจร้านหนังสือที่เจ้าของร้านจะแบ่งพื้นที่ชั้นวางติดผนังให้เช่า เพื่อให้ผู้สนใจนำหนังสือมือสองที่ไม่ใช้แล้วมาวางขาย
ในอดีตที่ผ่านมา คาเฟ่เป็นแหล่งรวมของนักเขียนจนบางคาเฟ่กลายเป็นตำนาน เช่น La Closerie des Lilas ในกรุงปารีส ฝรั่งเศสที่ เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์ นักเขียนชาวอเมริกันชื่อดังเคยนั่งอ่านต้นฉบับให้เพื่อนนักเขียนฟัง ร้านคาเฟ่จึงเป็นสถานที่โปรดของหนอนหนังสือและนักเขียนทั้งหลายมาช้านาน
เมื่อพูดถึงระบบสมาชิกในมุมของผู้บริโภค เชื่อว่าหลายคนคงเป็นสมาชิกไม่ธุรกิจใด ก็ธุรกิจหนึ่งกันมาบ้าง โดยมีข้อดีตั้งแต่การเก็บดาต้า จนถึงการสร้างให้เกิดการซื้อซ้ำ แล้วถ้าแบรนด์เล็กอยากทำระบบสมาชิกบ้างต้องทำยังไง
BookTree Library & Café ห้องสมุด คาเฟ่ และร้านขายหนังสือเล็กๆ อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต เกิดขึ้นมาจากความตั้งใจของ “เม - เมทินี เพชรจู” อดีตข้าราชการที่ผันตัวมาทำธุรกิจเล็กๆ และประโยชน์เพื่อสังคม
ทำธุรกิจยุคนี้ถ้าจะให้ “รอด” และ “รุ่ง” ผู้ประกอบการจะทำธุรกิจหลักอย่างเดียวอาจไม่พอ ทว่าต้องสร้างบริการเสริม หรือต่อยอดธุรกิจรองขึ้นมาเพื่อเพิ่มเม็ดเงินในกระเป๋าด้วย
ถ้าอยากจะโปรโมทร้านให้โดนใจลูกค้า แบบธรรมดาๆ คงต้องหลบไป เพราะยุคนี้ถ้าจะให้ปังต้องเป็นแบบนี้
การทำบัตรสมาชิกกลายเป็นยาสามัญประจำร้านไปเสียแล้ว ทุกวันนี้ซื้อของร้านไหนมักชวนให้สมัครบัตร โดยมีสิทธิ์พิเศษต่างๆ เป็นแรงจูงใจให้ลูกค้ากรอกชื่อ ที่อยู่ แ