ALDI คือ ซูเปอร์มาร์เก็ตสัญญาติเยอรมัน มีต้นกำเนิดมาจาก 2 พี่น้องตระกูล Albrecht คือ “คาร์ล และ ธีโอ อัลเบรชต์” ที่รับช่วงต่อกิจการมาจากแม่ของเขาที่เปิดร้านขายของชำตั้งแต่ยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2
เชื่อว่าผู้คนในหลายประเทศที่เติบโตมาช่วงทศวรรษ 1980-1990 จำนวนไม่น้อยคุ้นเคยกับเค้ก Sara Lee หรือเค้กฟอยล์หลายบ้านซื้อติดตู้เย็นจะทานเองหรือไว้สำหรับรับแขก วันนี้เล่ามาดูจุดเริ่มต้นของเค้กชนิดนี้กัน
มีคำกล่าวไว้ว่าธุรกิจจะยั่งยืนและเติบโตต่อไปได้ต้องควบคู่กับการมีสังคมที่ดีด้วย “Social Enterprise” จึงเป็นหนึ่งในทางเลือกที่น่าสนใจ แต่การจะทำให้ทั้งสองดำเนินคู่กันได้ไม่ใช่เรื่องง่าย วันนี้มีเคล็ดลับจากแบรนด์ "สิริกุญชร" มาฝากกัน
เพราะปัญหาเรื่องเงินคือเรื่องใหญ่ในการทำธุรกิจ นี่คือ แหล่งเงินทุนสำหรับ SME ที่รวมไว้ครบในที่เดียว
หนึ่งในปัญหาสำคัญของผู้จำหน่ายสินค้าผัก ผลไม้ ก็คือ การไม่รู้อายุที่แน่นอนของสินค้า จึงทำให้ไม่สามารถวางแผนการเก็บรักษาและจำหน่ายที่แม่นยำได้ จะดีกว่าไหมถ้ามีเครื่องสแกนบอกอายุผัก ผลไม้ได้
“สุรพลฟู้ดส์” ดำเนินธุรกิจอาหารแช่แข็งและอาหารพร้อมทานมานานกว่า 45 ปี วันนี้มองเห็นโอกาสของตลาดแพลนต์เบสฟู้ดที่กำลังเติบโต จึงต่อยอดความเชี่ยวชาญสู่ “WTM! WHAT THE MEAT” (วอท เดอะ มีท) ผลิตภัณฑ์ปลอดเนื้อสัตว์
เราอาจคุ้นชินกับแบรนด์ดังที่วางขายอยู่ในห้างสรรพสินค้า หรือตามร้านสะดวกซื้อทั่วไป แต่รู้ไหมว่าจริงๆ แล้วยังมีแบรนด์ท้องถิ่นอีกมากที่อาจเริ่มต้นขึ้นมาจากจุดเล็กๆ แต่กลับทำรายได้เป็นหลักสิบหลักร้อยล้านบาทได้ แถมไม่ได้จำหน่ายเฉพาะแค่ในไทย แต่โกอินเตอร์ไปไกลถึงต่างประเทศด้วย
ถ้าให้ผลิตสินค้าสักชิ้นขึ้นมาขายเชื่อว่าเอสเอ็มอีบ้านเราสามารถทำได้อย่างไม่ยากเย็น แต่ทักษะอย่างหนึ่งที่ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีบ้านเราส่วนใหญ่ยังขาด คือ ประสิทธิภาพในการจัดการธุรกิจ
มีตัวอย่างให้เห็นมานักต่อนักว่าธุรกิจของครอบครัวที่ริเริ่มตั้งแต่รุ่นปู่ย่าตายายเมื่อตกมาถึงรุ่นลูกหลานหากไม่มีการพัฒนาต่อยอดก็มักลงเอยด้วยการม้วนเสื่อปิดกิจการเพราะไม่มีใครสานต่อ
นอกจากตัวสินค้าที่ต้องมีคุณภาพดีแล้ว บรรจุภัณฑ์ถือเป็นอีกสิ่งสำคัญของผลิตภัณฑ์เกือบทุกประเภท
“อุตสาหกรรมการผลิต การค้า และการท่องเที่ยว” มีความเปราะบางมาตั้งแต่ก่อนวิกฤต โดยเฉพาะธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก หรือ SME แล้วอะไรล่ะคือสาเหตุ? มาหาคำตอบไปพร้อมกัน
พฤติกรรมหลายอย่างของผู้บริโภค แปรเปลี่ยนไปเพราะโควิด หนึ่งในความเปลี่ยนแปลงที่ว่าคือ “Customer Journey” ที่ส่งผลต่อ “ซูเปอร์มาร์เก็ต” แหล่งช้อปสินค้าซึ่งเคยเป็นหมุดหมายของผู้คน ในยุคที่ยังไม่มีวิกฤตไวรัส