สถานการณ์การระบาดของโควิด ทำให้ความเชื่อเรื่อง Multipotentialite หรือทักษะความสามารถที่หลากหลาย กลับมาเป็นที่สนใจอีกครั้ง บริษัทที่ปรับตัวได้ดีได้เร็วนั้นเกิดจากการสะสมความสามารถที่หลากหลาย และเมื่อเจอวิกฤตก็เปลี่ยนโมเดลธุรกิจได้ทัน
ทำไมบางธุรกิจมียอดขายผ่านช่องทางออนไลน์สูงเหลือเกิน แต่พอมองย้อนกลับมาที่ตัวเองแล้วก็ไม่ได้มีอะไรต่างกับคู่แข่งมากมาย รู้หรือไม่ว่าจริงๆ แล้วแบรนด์ที่ขายดีเหล่านั้น มีเทคนิคดีๆ ที่ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการตลาดออนไลน์พร้อมบูสต์ยอดขายอยู่ตลอดเวลา
รู้ไหมว่าในปี 2564 นี้ ตลาดไหนที่ยังพอเติบโตได้แม้จะไม่ได้หวือหวาเหมือนยุคก่อนหน้านี้ หนึ่งในนั้นคือ “ตลาดเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ โดยเฉพาะสินค้าเครื่องดื่มเฉพาะกลุ่ม และเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
ย้อนกลับไปในวันที่ประเทศไทยยังไม่มีผู้ผลิต Plant-based กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่ทำงานด้านการออกแบบนวัตกรรม เกิดไอเดียที่จะทำร้านอาหารเพื่อสุขภาพ ในคอนเซปต์ Plant-based Thai Street Food ขึ้น โดยใช้เนื้อจากพืชมาปรุงเป็นอาหารรสแซ่บสไตล์สตรีทฟู้ดแบบไทยๆ
ทำทุกอย่าง พยายามเก่งมันทุกเรื่อง และคาดหวังว่าทุกสิ่งจะคงอยู่ถาวรตลอดไป ความเชื่อทั้งหมดนี้คือ “หลุมพราง” และช่องว่างมรณะ (The Death Gap) ที่นำพาหลายธุรกิจไปสู่ความล่มสลาย แล้วอะไรกันแน่ที่เป็น Game Changer ในการทำธุรกิจยุคใหม่
ในตลาดโลกเทรนด์ Plant-based Food กลุ่มอาหารที่ทำมาจากพืชที่ให้โปรตีนสูงถูกพูดถึงมาแล้วช่วงหนึ่ง ถามว่าแล้วประเทศไทยล่ะ เทรนด์ Plant-based Food มาหรือยัง แล้วเป็นโอกาสและความหวังจริงไหมในปี 2564
หลายคนมองว่าการที่หลายอุตสาหกรรมแทบจะทั่วโลกทยอยปิดตัวลงจนก่อให้เกิดแรงกระเพื่อมที่นำไปสู่การล้มเป็นโดมิโนของธุรกิจต่างๆ มาจากการระบาดของโควิด-19 แต่ความจริงแล้ว การปิดตัวของธุรกิจค้าปลีกเริ่มต้นเมื่อประมาณ 10 ปีที่แล้ว
ในวันที่คำว่า Digital Transformation หรือการเปลี่ยนองค์กรเป็นดิจิทัลถูกใช้กันเกลื่อนเกร่อ แต่ดูเหมือนว่าน้อยรายนักที่จะทำแล้วประสบความสำเร็จ แล้ว SME จำเป็นแค่ไหนที่จะต้องมาทรานส์ฟอร์มองค์กรให้เป็นดิจิทัล
การมี Story จะช่วยให้เรามีภูมิต้านทานต่อคู่แข่งได้ ต่อให้ศัตรูจะมีผลิตภัณฑ์ที่เหนือกว่าเรา แต่เขาไม่สามารถเอาชนะ Story ของเราได้ และการสร้าง Story ในปัจจุบัน คงไม่มีสื่อใดเหมาะไปกว่า Facebook อีกแล้ว
“พริกค่ะ สไปซี่ คอฟฟี่” (PRIKKA Spicy Coffee) แจ้งเกิดในธุรกิจกาแฟสำเร็จรูปด้วยการเป็น กาแฟพริกสูตรแรกของโลก ที่ได้รับการประกาศขึ้นบัญชีนวัตกรรมไทยเป็นที่เรียบร้อย แถมยังคว้ารางวัลระดับโลกมาการันตีความสำเร็จอีกมากมาย
การทำตัวให้อยู่ในกระแส รู้ทันเทรนด์ เข้าถึงผู้บริโภครุ่นใหม่ๆ และใช้เทคโนโลยีให้คล่องแคล่ว อาจเป็นเรื่องยาก แต่ถ้ามี “แก๊งเสื้อยืด” หรือกลุ่มคนทำงานรุ่นใหม่อยู่ในองค์กรด้วยแล้วล่ะก็ จากจุดอ่อนจะกลายเป็น “แต้มต่อ” ของธุรกิจขึ้นมาได้
เมื่อ “นริศรา ธรรมสาธุ” ทายาทธุรกิจโรงงานรองเท้าได้มาเจอกับรุ่นพี่วัยเก๋าอย่าง “พลัฏฐ์ บุญพลอยเลิศ” นักสร้างสรรค์วัสดุผ้าจากเปลือกไม้ธรรมชาติ แบรนด์ KEAPAZ (เคียพาส) ที่ป้อนให้กับวงการออกแบบ หนทางชุบชีวิตใหม่ให้ธุรกิจรุ่นเก่าจึงเริ่มต้นขึ้น