แม้ว่าใน 1 - 2 ปีมานี้อาจไม่คึกคักเหมือนเก่าเพราะด้วยสถานการณ์จากโรคระบาดก็ตาม แต่อย่างไรเสียก็ยังคงมีสินค้าขายดีที่เป็นไอเทมฮอตฮิตตลอดกาลประจำฤดูร้อนและสงกรานต์ออกมาวางจำหน่ายตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค
“อุตสาหกรรมการผลิต การค้า และการท่องเที่ยว” มีความเปราะบางมาตั้งแต่ก่อนวิกฤต โดยเฉพาะธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก หรือ SME แล้วอะไรล่ะคือสาเหตุ? มาหาคำตอบไปพร้อมกัน
สถานการณ์การระบาดของโควิด ทำให้ความเชื่อเรื่อง Multipotentialite หรือทักษะความสามารถที่หลากหลาย กลับมาเป็นที่สนใจอีกครั้ง บริษัทที่ปรับตัวได้ดีได้เร็วนั้นเกิดจากการสะสมความสามารถที่หลากหลาย และเมื่อเจอวิกฤตก็เปลี่ยนโมเดลธุรกิจได้ทัน
รู้ไหมว่าในปีวิกฤตโควิดที่ผ่านมา ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์อย่าง “แสนสิริ” ช่วย SME ไปแล้วกี่ราย? แล้วพวกเขาใช้โมเดลไหนในการช่วยเหลือ ให้ วิน-วิน ทั้งกับแสนสิริและ SME ขณะที่ปีนี้ยังขยายความร่วมมือมาดึงภาคการเงินอย่าง SCB มาร่วมด้วย
นับเป็นความร่วมมือที่ไม่ธรรมดาเลย เมื่อน่านดูโอ คอฟฟี่ รับบทเป็นคนต้นน้ำ นำส่งวัตถุดิบกาแฟออร์แกนิกจากเครือข่ายเกษตรกรในภาคเหนือ ให้โรงคั่วกาแฟ วังน้ำเขียว เพื่อแปรรูปเป็น Cosmetic Coffee เครื่องสำอางจากกาแฟ ส่งออกตลาดโลก
ธุรกิจโรงแรมเริ่มมีสัญญาณ Oversupply มาตั้งแต่ก่อนโควิด-19 ด้วยซ้ำ โดยเฉพาะโรงแรมขนาดกลางและประหยัด ยิ่งมาถูกซ้ำเติมด้วยพิษโควิด สถานการณ์ก็ยิ่งรุนแรงขึ้น จนนำไปสู่ปัญหาผิดนัดชำระหนี้ และมีสัดส่วนหนี้เสียเพิ่มสูงขึ้นตั้งแต่ช่วงต้นปี 2020
สถานการณ์โควิด-19 ส่งผลกระทบต่อตลาด “พื้นที่สำนักงานให้เช่า” (Occupied Area) ในปี 2021 ที่คาดว่าจะชะลอตัวลง บวกกับเทรนด์การทำงานแบบ Work From Home บางบริษัทก็มีแนวโน้มจะใช้ต่อเนื่องในระยะยาวแม้จะคลายล็อกดาวน์
ถ้าอยาก Level Up ธุรกิจให้อยู่รอดได้อย่างแข็งแกร่งในศตวรรษนี้ ผู้นำหรือเจ้าของกิจการที่ดีจะรู้แค่อย่างใดอย่างหนึ่งนั้นคงไม่พอ นี่จึงเป็นที่มาของการเป็น T-shaped Leader หรือ ผู้นำแบบรู้รอบและรู้ลึก
เมื่อชีวิตในเมืองหลวงไม่ตอบโจทย์ “เสาวลักษณ์ มณีทอง” ลูกหลานเกษตรกรใน อ.แม่ระมาด จ.ตาก ตัดสินใจกลับไปบ้านเกิดทำธุรกิจแปรรูปสมุนไพร สร้างรายได้และความสุขสู่ชุมชน และยังส่งออกไปไกลถึง อเมริกา ศรีลังกา และออสเตรเลีย
นักธุรกิจจีนมองไทยเป็นประเทศที่น่าสนใจเข้ามาลงทุนในระยะ 1-2 ปีข้างหน้า ปรับโครงสร้างการลงทุนในไทยจากอุตสาหกรรมที่ใช้เงินลงทุนสูง สู่การลงทุนขนาดเล็กลง มุ่งเจาะภาคอุตสาหกรรมบริการ และเทคโนโลยี
แม้ว่าหลายๆ ธุรกิจอาจมีการชะลอตัวลงของยอดขายในช่วงวันหยุดยาว คำถามคือ แล้วเราจะทำอย่างไรให้ธุรกิจของเราเข้าไปมีส่วนแบ่งทางการตลาดในช่วงวันหยุดยาวที่ว่านี้ได้
ข้อมูล The 100 Best Global Brands จาก Interbrand ได้บอกกับเราว่าอะไรก็เกิดขึ้นได้ "แบรนด์ที่ใหญ่อยู่แล้ว ก็ใหญ่ขึ้นกว่าเดิมไปอีก’ หรือ ‘แบรนด์ที่ใหญ่ ก็ใช่ว่าจะเอาตัวรอดในช่วงวิกฤต’ แล้วสาเหตุใดที่ทำให้แบรนด์ใหญ่สามารถเติบโตได้ดีในสถาการณ์วิกฤตนี้ล่ะ