กลยุทธ์ต้องรอด ฉบับยักษ์ใหญ่แฟรนไชส์ธุรกิจอาหารอย่าง “เดอะ ไมเนอร์ ฟู้ด กรุ๊ป” ผู้ให้บริการด้านอาหารและฟาสต์ฟู้ดรายใหญ่ของประเทศ ในวิกฤตโควิด-19 พวกเขาใช้กลยุทธ์ไหนเพื่อไปต่อ
“Pangaia” ร่วมกับ “Graviky Labs” ห้องแล็บที่มีการวิจัยดักจับคาร์บอนหรือควันพิษในอากาศผลิตเป็นหมึกพิมพ์ลงบนวัสดุต่างๆ โดยมีชื่อว่า “Air Ink” จนได้เป็นสีสำหรับใช้ย้อมผ้าหรือสกรีนลงบนเนื้อผ้าขึ้นมาเป็นครั้งแรกของโลก
“Patagonia” แบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่นเอาท์ดอร์ที่มีแนวทางการทำธุรกิจสุดแหวก จากครั้งหนึ่งเคยประกาศลงโฆษณาหน้าหนังสือพิมพ์ว่าอย่าซื้อสินค้าของตัวเอง จนล่าสุดเปิดร้านขายเสื้อผ้ามือสองควบคู่กับของสินค้าใหม่
ปรีดาธพันธุ์ จันทร์เรือง” เขาคือนักธุรกิจเกษตร ที่ยอมทิ้งเงินเดือน 6 หมื่น กับตำแหน่งผู้จัดการโรงงาน ไปเป็นเกษตรกรที่บ้านเกิด สิ่งที่เขาจะคุยกับเรา ไม่ใช่ภาพของความสำเร็จ มาฟังเรื่องราวความชอกช้ำของคนทำนวัตกรรมอย่างเขาไปพร้อมกัน
ในปีที่ผ่านมาท่ามกลางวิกฤตโควิด-19 “Organics Buddy” ยังโตได้ถึง 10-15 เปอร์เซ็นต์ แต่การเติบโตนี้ไม่ได้มาจากความบังเอิญ พวกเขาทำสินค้าออร์แกนิกแบบไหนให้ตอบโจทย์ทั้งธุรกิจ ผู้บริโภค และโลก
เกือบ 2 ปีที่เราอยู่กับโรคระบาด ผู้คนอยากกลับไปใช้ชีวิตเหมือนช่วงก่อนโควิด-19 เต็มที แต่ในอีกมุมหนึ่ง หลายธุรกิจได้สร้างประสบการณ์ใหม่ๆ ให้กับผู้บริโภคในช่วงเวลาดังกล่าวได้กลายเป็นมาตรฐานใหม่ที่ลูกค้าคาดหวัง เพราะลูกค้าติดอกติดใจแบบนี้ซะแล้วสิ
“Deeco” (ดีโค่) รองเท้ายางพาราสำหรับโค นวัตกรรมเกษตรคูลๆ ออกแบบแม่พิมพ์ให้สอดคล้องตามหลักสรีระของกีบเท้าโค และสูตรยางรองเท้าอีกด้วย ว่าแต่ทำไมโคต้องใส่รองเท้ากันล่ะ?
ด้วยน้ำอดน้ำทน และพลังศรัทธาของ “พลัฏฐ์ อารีวงศ์ศิลป์” ทายาทธุรกิจรองเท้าหนังที่มีประสบการณ์ในสนามเครื่องหนังมากว่า 30 ปี วันหนึ่งเขาสามารถนำพาแบรนด์ "PALATTA" ให้กลายเป็นเครื่องหนังไทยขวัญใจลูกค้าคนจีนได้สำเร็จ
ทายาทธุรกิจเครื่องกรองน้ำที่เคยโด่งดังในอดีต ทว่าด้วยพิษวิกฤตเศรษฐกิจปี 40 ทุกอย่างกลับพังครืนลง สาขาถูกปิด ธุรกิจกลายเป็นหนี้ ต้องตัดสินใจพลิกมาทำผ้าม่าน แต่ถูกเสนอเงินเดือนให้แค่ 5 พันบาท เขากัดฟันสู้จนได้ธุรกิจร้อยล้านในวันนี้
นี่คือ “ขนมสุนัข” แต่ไม่ใช่ขนมธรรมดาๆ เพราะทำมาจากโปรตีนแมลง แถมยังช่วยแก้ปัญหา Food Waste ดีต่อสุขภาพน้องหมาและดีต่อสุขภาพของโลกเราด้วย
สถานการณ์การระบาดของโควิด ทำให้ความเชื่อเรื่อง Multipotentialite หรือทักษะความสามารถที่หลากหลาย กลับมาเป็นที่สนใจอีกครั้ง บริษัทที่ปรับตัวได้ดีได้เร็วนั้นเกิดจากการสะสมความสามารถที่หลากหลาย และเมื่อเจอวิกฤตก็เปลี่ยนโมเดลธุรกิจได้ทัน
ผู้หญิงคนหนึ่งเดินหิ้วโครงไม้ลามิเนตไปบุกบริษัทอสังหาริมทรัพย์ชื่อดังอย่าง “แสนสิริ” เพื่อนำเสนอขายสินค้า โดยที่บริษัทพึ่งตั้ง ประสบการณ์ทำงานเท่ากับศูนย์ และมีสินค้าทั้งบริษัทแค่ 1 ตัวเท่านั้นก็คือ “พื้นไม้ลามิเนต” แต่เธอขายงานได้!