ไม่ว่าจะบริษัทหรือตัวพนักงานเองต่างก็ต้องเรียนรู้ ปรับตัวให้เข้ากับการดำเนินชีวิตวิถีใหม่ ทำให้เกิดสกิลใหม่ๆ ขึ้นมากมาย โดยเฉพาะการทำงานที่ไม่ต้องยึดติดกับการเข้าออฟฟิศ อยู่บ้าน หรือที่ไหนก็สามารถทำงานได้
คนทำธุรกิจทุกคนรู้ดีว่า ‘ข้อมูล’ ของลูกค้าเป็นเหมือนขุมทรัพย์ที่จะช่วยให้ชี้ทางสว่างให้กับธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงเวลาที่ผู้ประกอบการได้รับผลกระทบจากโควิด-19 ยิ่งต้องทำความเข้าใจผู้บริโภคให้มากขึ้นและเร็วขึ้นเท่าตัว
จากช่องทางการสร้างรายได้ที่จำกัด ผลักดันให้บริการธุรกิจจัดส่งอาหาร (Food Delivery) กลายมาเป็นช่องทางการสร้างรายได้หลักของผู้ประกอบการธุรกิจร้านอาหาร และทำให้เกิดเทรนด์พฤติกรรมของผู้บริโภคที่น่าสนใจหลายอย่างด้วยกัน
บรรจุภัณฑ์เดี๋ยวนี้ไม่ได้มีแค่เอาไว้ใส่หรือห่อสินค้า แต่บรรดาแบรนด์ต่างๆ ได้สรรหาวิธีใช้ประโยชน์ แต่สิ่งหนึ่งที่เหมือนกันคือการสะท้อนว่าแต่ละแบรนด์นั้นให้ความสำคัญกับอะไร มีบุคลิกแบรนด์เป็นแบบไหน
โควิดได้เข้ามาส่งผลต่อพฤติกรรมผู้บริโภคให้เปลี่ยนไปอีกครั้ง จนเกิด 2 ขั้วความต่างระหว่างผู้บริโภคกรุงเทพฯ - ปริมณฑล และพฤติกรรมของผู้บริโภคในต่างจังหวัดอย่างเห็นได้ชัด
ด้วยสถานการณ์ตอนนี้บีบบังคับให้ผู้ประกอบการต้องสู้ยิบตา ถ้าไม่สู้ก็ไม่รอด วันนี้เราจึงขอหยิบนำมาเล่าต่อให้ฟังจาก 2 เคสตัวอย่างของ 2 ผู้ประกอบการที่มีวิธีการรับมือจากวิกฤตแตกต่างกันไป จะเป็นใครนั้นลองไปดูกันเลย
ในสถานการณ์โควิด-19 หลายธุรกิจได้รับผลกระทบขาดรายได้ ต้องหยุดพัก หรือปิดกิจการลงไป แต่ได้กลายเป็นผลกระทบเชิงบวกให้กับบางธุรกิจที่จับเอาความต้องการของผู้บริโภคที่เกิดขึ้นในช่วงนี้แล้วมาสร้างสรรค์นวัตกรรมไปตอบโจทย์ได้พอดิบพอดี
วิธีการปรับองค์กรสู่ดิจทัลนั้นไม่ใช่เรื่องยาก ธนาคารยูโอบี ร่วมกับ Digital Reality บริษัทให้คำปรึกษาและบริหารจัดการธุรกิจดิจิทัล ได้แนะนำ SMEs ในการเริ่มต้นเส้นทางธุรกิจดิจิทัลด้วย 6 แนวทาง ดังนี้
ในขณะที่หลายธุรกิจต้องเจ็บตัวและสูญเสียรายได้เพราะวิกฤตโควิด-19 แต่ “Sawadee” แบรนด์อโรม่าบาล์มของสาวเภสัชกรกลับใช้โอกาสจากวิกฤตที่มีจากเวลาว่างใน Work From Home สร้างเป็นธุรกิจเล็กๆ ของตัวเองขึ้นมาได้ในเวลาเพียง 3 เดือนเศษ
กลยุทธ์ต้องรอด ฉบับยักษ์ใหญ่แฟรนไชส์ธุรกิจอาหารอย่าง “เดอะ ไมเนอร์ ฟู้ด กรุ๊ป” ผู้ให้บริการด้านอาหารและฟาสต์ฟู้ดรายใหญ่ของประเทศ ในวิกฤตโควิด-19 พวกเขาใช้กลยุทธ์ไหนเพื่อไปต่อ
"OverBrew Specialty Coffee" ร้านกาแฟเล็กๆ แห่งหนึ่งในจังหวัดนครสวรรค์ที่ปรับตัวแก้วิกฤตด้วยการจำหน่าย "Cold Brew Bucket" หรือชุดทำกาแฟสกัดเย็นทำกินเองที่บ้านได้ง่ายๆ จากคิดหารายได้เพิ่ม กลายเป็นสร้างรายได้หลักนับแสนต่อเดือนให้ธุรกิจ
มือการทำธุรกิจหลังวิกฤตสำหรับ SME ด้วยความหวังว่าเศรษฐกิจจะฟื้นตัวจริงๆ ผู้ประกอบการก็ถึงเวลาต้องทบทวนการดำเนินงานของธุรกิจเพื่อปรับให้เหมาะสมและยืดหยุ่นมากขึ้น เพราะว่าหลังจากนี้วิธีการทำงานทั้งกับคนในองค์กรหรือกับลูกค้าก็ต้องเปลี่ยนไปอย่างแน่นอน