"OverBrew Specialty Coffee" ร้านกาแฟเล็กๆ แห่งหนึ่งในจังหวัดนครสวรรค์ที่ปรับตัวแก้วิกฤตด้วยการจำหน่าย "Cold Brew Bucket" หรือชุดทำกาแฟสกัดเย็นทำกินเองที่บ้านได้ง่ายๆ จากคิดหารายได้เพิ่ม กลายเป็นสร้างรายได้หลักนับแสนต่อเดือนให้ธุรกิจ
ทำอย่างไรถึงจะเอาตัวรอด และข้ามผ่านวิกฤตครั้งนี้ไปได้ และอยู่รอดได้ในยุคดิจิทัล มาฟังตัวอย่างการปรับตัวจากแฟรนไชส์เจ้าดังระดับเจ้าของรางวัลสุดยอดแฟรนไชส์ไทยอย่าง “Mango Mania” และ “D’ORO” กัน
เป็นที่ทราบกันดีว่า หลังวิกฤตโควิดระลอก 3 ธุรกิจเริ่มทยอยล้มหายตายจากไปไม่น้อย แต่รู้หรือไม่ว่าท่ามกลางความเหนื่อยยากนั้น มีประเภทธุรกิจที่ใกล้เคียงกันอย่าง “ธุรกิจกาแฟ” กลับยังอยู่รอดต่อไปได้ เพราะการปรับตัวที่ยืดหยุ่นกว่า
ในทุกๆ ปี 1 ใน 3 ของอาหารทั้งหมดที่ผลิตขึ้นมาเพื่อการบริโภคของมนุษย์ต้องถูกทิ้งไป มีหลายวิธีที่จะลดปริมาณขยะอาหารได้ แต่ถ้าใส่ความคิดสร้างสรรค์ลงไปด้วยล่ะก็ สิ่งที่เคยเป็นขยะที่ต้องทิ้งก็จะกลายเป็นโอกาสธุรกิจและทำกำไรได้อีกต่างหาก
“28 Days Off" ร้านกาแฟสเปเชียลตี้ในจังหวัดปราจีนบุรี นอกจากจะโดดเด่นด้านรสชาติ การบริการ และรูปแบบร้านสวยงามแล้ว ยังมีกิมมิกการเปิด-ปิดร้านไม่เหมือนใครด้วย โดยจะเปิดให้บริการเพียงแค่ 28 วันเท่านั้น ถ้ามาไม่ทันก็ต้องรอรอบต่อไปอีกเกือบนานนับเดือนทีเดียว
ไอติมหวานเย็นในหลอดใส ใช้ชื่อแบรนด์ว่า “ฟรีซช็อต” ชูจุดต่างด้วยการเป็น สมูทตี้ที่ไม่ต้องปั่น นวัตกรรมความอร่อยโดนใจเด็กๆ เปิดตัวครั้งแรกด้วยการขายได้เกือบหมื่นหลอดในเวลาเพียง 4-5 วัน และยังคว้ารางวัลนวัตกรรมระดับประเทศมาแล้ว
นับเป็นความร่วมมือที่ไม่ธรรมดาเลย เมื่อน่านดูโอ คอฟฟี่ รับบทเป็นคนต้นน้ำ นำส่งวัตถุดิบกาแฟออร์แกนิกจากเครือข่ายเกษตรกรในภาคเหนือ ให้โรงคั่วกาแฟ วังน้ำเขียว เพื่อแปรรูปเป็น Cosmetic Coffee เครื่องสำอางจากกาแฟ ส่งออกตลาดโลก
อดีตเด็กหนุ่มที่เคยสร้างธุรกิจร้อยล้านได้ตั้งแต่ในวัย 20 ต้นๆ แต่ก็ต้องจบลงด้วยการเจ๊ง! ในเวลาเพียง 4 ปี ต้องแบกรับหนี้สินนับ 50 ล้านบาท จนมาพบทางออกเมื่อได้เริ่มต้นธุรกิจกาแฟครบวงจรที่วังน้ำเขียว
“ถ้ำสิงห์” (Thamsing Coffee) แบรนด์กาแฟจากชุมชน ที่รวมตัวก่อตั้งเป็น วิสาหกิจชุมชนกลุ่มกาแฟบ้านถ้ำสิงห์ วันนี้ถ้ำสิงห์ขยับขยายเป็นอาณาจักรกาแฟที่สร้างรายได้ต่อปีอยู่ที่หลักสิบล้านบาท
ย้อนกลับไปในวันที่ประเทศไทยยังไม่มีผู้ผลิต Plant-based กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่ทำงานด้านการออกแบบนวัตกรรม เกิดไอเดียที่จะทำร้านอาหารเพื่อสุขภาพ ในคอนเซปต์ Plant-based Thai Street Food ขึ้น โดยใช้เนื้อจากพืชมาปรุงเป็นอาหารรสแซ่บสไตล์สตรีทฟู้ดแบบไทยๆ
วัน-อมตะ สุขพันธ์ และ ออฟ-ณิสาพัฒน์ ทองประทุม คู่รักผู้ก่อตั้ง หจก.วัน-ออฟ คอฟฟี่ ฟาร์มสเตย์ จ.แม่ฮ่องสอน ที่กลายมาเป็นผู้ประกอบการจากจุดเริ่มต้นแค่อยากวางแผนเกษียณตัวเองจากงานที่ทำเพื่อไปใช้ชีวิตที่สงบสุขในต่างจังหวัด
เมื่อปีที่แล้ว ณปภัช วรปัญญาสถิต ยังเป็นมาสเตอร์แฟรนไชส์ นำเข้าแบรนด์ชานมไข่มุกราคา 19 บาทในประเทศไทยไปขายในประเทศกัมพูชา แต่ปีนี้เธอเป็นเจ้าของแฟรนไชส์ชาไข่มุก Am Tea ที่กำลังเติบโตอย่างรวดเร็วในทั้ง 2 ประเทศ