ทุกวันนี้ธุรกิจ Food Delivery ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญต่อร้านค้าต่าง ๆ จำนวนมาก แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าด้วยค่า GP ที่สูงลิ่วกว่า 30 – 35 เปอร์เซ็นต์ ทำให้ไม่สามารถทำกำไรได้ วันนี้แบรนด์เดลิเวอรีท้องถิ่นสัญชาติไทยจึงมีเกิดขึ้นมากมาย เพื่อเป็นทางเลือกให้ผู้ประกอบการ
“Dylan Vanas” ผู้เชี่ยวชาญด้านการตลาด ได้ให้ความเห็นว่า “การมีตัวตนบนโลกออนไลน์ไม่ใช่เรื่องฟุ่มเฟือยอีกต่อไป แต่เป็นสิ่งที่มีความจำเป็น” ดังนั้น เราจะสร้างตัวตนของธุรกิจบนโลกออนไลน์และเก็บเกี่ยวผลประโยชน์สูงสุดจากกลยุทธ์ทางการตลาดได้อย่างไร
ว่ากันว่า ทำธุรกิจแล้วไม่มองดูคู่แข่งก็เท่ากับหยุดพัฒนาตัวเอง เชื่อหรือไม่ว่า คู่แข่งทางธุรกิจนั้นไม่ต่างอะไรกับกระจกที่เอาไว้สะท้อนมองดูตัวเอง “เมื่อวานนี้เราเป็นอย่างไร” “วันนี้เราดูดีขึ้นหรือไม่” และ “ในอนาคตข้างหน้ารูปลักษณ์ธุรกิจของเราจะเปลี่ยนไปอย่างไร”
แม้จะแตกต่างจากกิจการทั่วไป แต่ในช่วงที่เกิดวิกฤตโควิด-19 เหล่าธุรกิจเพื่อสังคมก็ได้รับผลกระทบที่หนักหน่วงไม่ต่างกัน ทำอย่างไรถึงจะข้ามผ่านวิกฤตและไปต่อได้ในโลกยุค Never Normal มาฟังคำตอบและทางออกจากกูรูนักการตลาดกัน
“Customer Journey” หรือ การเดินทางของลูกค้าตั้งแต่ขั้นตอนของการรับรู้ใน Brand ไปจนถึงการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการ คำนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการเริ่มต้นดำเนินธุรกิจโรงแรมใหม่อีกครั้ง หลังจากที่ต้องหยุดกิจการไปในช่วงโควิด-19
บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) เร่งเยียวยาภาคท่องเที่ยว เปิดเกณฑ์ค้ำประกันสินเชื่อ ผ่านซอฟท์โลน 10,000 ล้านบาท เติมทุนเต็มวงเงิน ค้ำประกันสินเชื่อสูงสุดต่อราย 20 ล้านบาท
ไปรษณีย์ไทยผู้ให้บริการส่งพัสดุรายใหญ่ของประเทศที่ให้บริการต่อเนื่องมากว่า 136 ปี และไม่เคยหยุดพัฒนาตัวเองเพื่อก้าวให้ทันโลกที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ล่าสุดได้จัดทำเว็บไซต์ชื่อ "PostConnex" คอมมูนิตี้สำหรับคนทำธุรกิจออนไลน์ สร้างความแข็งแกร่งให้กับผู้ค้าออนไลน์เป็นรายแรก..
“ไคเซ็น” ถือเป็นหนึ่งในองค์ความรู้ด้านระบบการผลิตแบบโตโยต้า (Toyota Production System) ที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล อันนำไปสู่การผลิตสินค้าคุณภาพได้มาตรฐานในเวลาที่สั้นที่สุด เพื่อเพิ่มกำไรผ่านการลดต้นทุนการผลิต
เอเชียแปซิฟิกมีจำนวนคนมั่งคั่งสูงถึง 18 เปอร์เซ็นต์ ของประชากรทั้งหมด หรือคิดเป็น 20.64 ล้านคน โดยคนรวยเอเชียมีรายได้เฉลี่ยร่วม 20 ล้านล้านบาทต่อเดือน ส่วนคนมีเงินชาวไทยอยู่ที่ 1 แสนล้านบาท ต่อเดือน
ผลิตภัณฑ์ชุมชนหรือสินค้า OTOP ในประเทศไทยถือว่ามีความหลากหลายตามวัตถุดิบของแต่ละชุมชนที่สะท้อนวิถีชีวิตหรือเรื่องราวของคนในชุมชนได้ในบางส่วน ซึ่งในปัจจุบันอาจไม่เพียงพอเพราะบางครั้งผลิตภัณฑ์บางอย่างก็ไม่สามารถอธิบายความเป็นมาให้ชัดเจนดั่งใจหวัง
ผู้ประกอบการ SME ต่างมีจุดมุ่งหมายในการทำธุรกิจ แต่ในปัจจุบันมีการแข่งขันสูงขึ้น พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ผลักดันให้ SME ต้องปรับตัวอยู่เสมอ การแสวงหาความรู้เพื่อนำไปต่อยอดปรับปรุงพัฒนาผลิตภัณฑ์นับเป็นอีกวิธีการหนึ่งที่สำคัญ
ว่ากันว่าวันนี้คนไทยเครียดง่ายขึ้น ปริมาณความเครียดก็ดูจะมากกว่าในยุคก่อน คนเป็นซึมเศร้า และทุกข์กับชีวิตมากขึ้น สำหรับธุรกิจ SME หากรู้จักมองปัญหานี้ให้เป็นโอกาส จากจุดเล็กๆ จุดนี้ ก็แปรเปลี่ยนเป็นไอเดียธุรกิจทำเงินได้