กลยุทธ์การตลาดที่มาแรงมากๆ ในปี 2022 ต่อเนื่องมากลับ Marketing 5.0 ไม่กล่าวถึงไม่ได้กับ Contextual Marketing ซึ่งเป็นเรื่องของการออกแบบและสร้างประสบการณ์ของลูกค้า (Customer Experience) ผมเองจึงอยากนำเสนอความรู้ ข้อมูลพื้นฐานและขั้นตอนที่ SME จะนำไปประยุกต์ใช้กับธุรกิจของท่านๆ ต่อไปครับ
เพราะการขายของออนไลน์กลายเป็นช่องทางจำเป็นสำหรับผู้ประกอบการ หลายๆ ร้านจึงเปิดขายทุกช่องทางของแพลต์ฟอร์มมาร์เก็ตเพลส เพื่อเพิ่มทางเลือกให้กับผู้บริโภค นับเป็นกลยุทธ์ที่ดีทางหนึ่ง แต่คุณเองก็ควรศึกษาว่าแต่ละมาร์เก็ตเพลสมีค่าธรรมเนียมอะไรบ้าง อย่างน้อยจะได้เป็นการช่วยในการคำนวณต้นทุนหรือกำไร
ธุรกิจบริการในปัจจุบันการขายสินค้าหรือบริการแต่เพียงอย่างเดียวอาจไม่พอ จำเป็นต้องพ่วง “experience retail” หรือประสบการณ์ที่จะสร้างความประทับใจให้ลูกค้าด้วยโดยเฉพาะบรรดาร้านค้าแบบ physical store ที่มีหน้าร้านยิ่งต้องใช้เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้บริโภคให้หันเหจากร้านค้าออนไลน์มาใช้บริการที่ร้าน
คุณเคยรออาหารนานที่สุดแค่ไหน? เชื่อไหมว่ามีร้านหนึ่งที่ลูกค้ายอมรอ 30 ปี คือ ร้านขายเนื้อในตำนานที่ทากาซาโงะ ประเทศญี่ปุ่น ถูกขนานนามว่าทำโครเกต์เนื้อโกเบอร่อยจนผู้คนยอมรอหลายปีเพื่อลองกิน
ว่าด้วยอุณหภูมิที่ร้อนระอุของบ้านเรา หนึ่งในสินค้าขายดีตลอดกาลก็คงหนีไม่พ้นสินค้าช่วยคลายร้อน ซึ่งในแต่ละเซกเมนต์ก็มีเจ้าตลาดอยู่หลายแบรนด์ด้วยกันทำรายได้ปีๆ หนึ่งเป็นพันล้านบาท
สินค้ามือสองสำหรับเด็กหรือคุณแม่ที่กำลังตั้งครรภ์จะหายากกว่า จนกระทั่ง ”รีไทเคิล” (Retykle) แพลตฟอร์มซื้อขายเสื้อผ้าเด็กและชุดคลุมท้องกำเนิดขึ้น
จากสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 ที่กินเวลายาวนานมากว่า 2 ปีที่ผ่านมานี้ ซึ่งเข้ามาเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ชีวิตของผู้คนมากมายให้ไม่เหมือนเก่า ต้องมีการเว้นระยะห่าง ต้องนั่งทำงานอยู่ที่บ้าน การติดต่อสื่อสารกันผ่านช่องทางออนไลน์เข้ามามีบทบาทมากขึ้น
ธนาคารกรุงไทยได้จัดแคมเปญ “SME Solutions” สำหรับร้านค้ารายย่อย ไม่ว่าจะเป็น ร้านค้าปลีก ร้านอาหาร ร้านค้าทั่วไป เพื่อช่วยสร้างธุรกิจให้มั่นคงและเติบโต พร้อมช่วยเสริมความแข็งแกร่งทางด้านการเงิน
ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมาธุรกิจเอสเอ็มอีต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่ท้าทายต่อการประกอบธุรกิจ แต่แน็คเก็ต (Nacket) และ แคบหมึก รุ่งธนา ไม่ใช่แค่สามารถเติบโตในช่วงวิกฤติโควิด-19 แต่ยังทำรายได้แตะหลักสิบล้าน
ถึงมีทุนเริ่มต้นทำธุรกิจน้อย ก็สามารถยิ่งใหญ่ได้ เหมือนที่ อดัม ลู เริ่มต้นซื้อรถเข็นเล็กๆ ราคาประมาณ 5,000 บาทจากห้างอิเกียมาทำร้านขายหอยนางรมสดที่ชื่อว่า The Oyster Cart
หลังการอุบัติของโควิด-19 ทำให้เกิดสิ่งใหม่ๆ มากมาย รวมทั้งพฤติกรรมของผู้บริโภคเองที่เปลี่ยนไปหลายอย่าง แน่นอนว่าย่อมส่งผลต่อการทำธุรกิจ ที่ต้องพร้อมปรับให้ทันผู้บริโภค
โลกออนไลน์กลายเป็นทางรอดของหลายธุรกิจในยุคโควิด “Sticky” เป็นร้านลูกอมแฮนด์เมดในออสเตรเลียเป็นหนึ่งในนั้น หลังจากยอดหายหดจนเหลือ 0 ร้านก็ได้เริ่มโพสต์กระบวนวิธีการทำขนมอันน่าตื่นตาตื่นใจของร้านลงบนโซเชียลมีเดีย