เมื่อวิกฤตเกิดขึ้นไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก “ธุรกิจที่อยู่รอด คือ ธุรกิจที่ปรับตัวได้” เพราะธุรกิจที่ปรับตัวไม่ได้ก็จะต้องสูญพันธ์ถูก Disrupt หายไป วันนี้ลองมาเช็คลิสต์กันว่าธุรกิจคุณควรไปต่อ หรือรีบเปลี่ยน
ในภาวะวิกฤตที่ต้องเจอปัจจัยภายนอกกระทบอย่างรุนแรง ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดก็ตาม เราถูกบังคับให้เปลี่ยนแปลง เมื่อต้องปรับเปลี่ยน สิ่งสำคัญสิ่งแรกเลย คือ “ความคิด Mindset” เพราะถ้าความคิดไม่เปลี่ยน การกระทำก็ไม่เปลี่ยนอย่างแน่นอน
แนวทางการทำธุรกิจให้ประสบความสำเร็จของแต่ละคน แต่ละองค์กรอาจมีที่มาต่างกันไป บ้างก็ใช้แพสชั่น บ้างก็ต่อยอดธุรกิจจากที่บ้าน แต่น้อยคนนักที่จะใช้คำว่า WHY เป็นแรงขับเคลื่อนธุรกิจให้ประสบความสำเร็จ เปลี่ยนบริษัทเล็กๆ ให้ก้าวสู่คำว่า “มหาชน” ภายในเวลา 7 ปี
มากกว่าเก้าในสิบ หรือกว่า 98% ของกลุ่มธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ในประเทศไทย กำลังเผชิญกับความผันผวนของกำลังคน อันเกิดจากปรากฏการณ์การลาออกครั้งใหญ่
ถ้าให้ผลิตสินค้าสักชิ้นขึ้นมาขายเชื่อว่าเอสเอ็มอีบ้านเราสามารถทำได้อย่างไม่ยากเย็น แต่ทักษะอย่างหนึ่งที่ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีบ้านเราส่วนใหญ่ยังขาด คือ ประสิทธิภาพในการจัดการธุรกิจ
ในโลกยุคใหม่ที่ทุกอย่างต้องถูกขับเคลื่อนด้วยความเร็ว การยึดหลักทำธุรกิจในรูปแบบเดิมเพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพออีกต่อไป
มีการพิสูจน์แล้วว่า Growth Mindset นับเป็นกรอบความคิดที่สำคัญ ที่ทำให้คนที่มีความคิดแบบนี้สามารถเติบโตได้แบบไม่จำกัด
คุณว่าทัศนคติกับความฉลาดอันไหนสำคัญกว่ากัน
ในวันที่โลกดิจิทัลกลายเป็นตลาดหลักที่ผู้ประกอบการทุกประเภท ทุกไซส์ ต้องกระโดดเข้าร่วมวง ด้วยเป้าหมายเดียวกันคือ ทำอย่างไรจึงจะสร้างกำไร เพิ่มยอดขายให้กับธุรกิจ วิธีคิดและเครื่องมือต่างๆ ที่เคยใช้ได้ผลอาจไม่เวิร์กอีกต่อไป ทวีความท้าทายเข้าไปอีกเมื่อตอนนี้ทุกคนต้องทำธุรกิจท่ามกลางวิกฤตที่ยังมองไม่เห็นปลายทาง
หนึ่งวิธีที่หลายแบรนด์นำมาแก้ไขปัญหาอย่างแรงด่วน คือ การขึ้นค่าแรงเพื่อจูงใจพนักงานให้กลับมาทำงาน โดยมองข้ามหรือลืมนึกถึงสาเหตุที่แท้จริงว่าเหตุใดพนักงานเหล่านั้นจึงชิงลาออกทั้งที่ก็ยังไม่มีงานใหม่รองรับ และนี่คือ เหตุผลที่ทำให้พวกเขาลาออกกัน
จะเป็นอย่างไรหากผู้บริโภคที่รักกลายมาเป็นคู่แข่งทางธุรกิจ กลายเป็นปมให้ผู้ประกอบการที่อยากจะอยู่รอดในสนามแข่ง ต้องพลิกการตลาดให้ทันกับผู้บริโภคและสถานการณ์ ที่คนทำธุรกิจควรจะรู้หากอยากให้ธุรกิจได้ไปต่อ
การลงทุนธุรกิจแฟรนไชส์นับเป็นโอกาสของเจ้าของธุรกิจที่จะหันมาขายแฟรนไชส์ คำถามคือ ควรจะขยายหรือขายแฟรนไชส์ให้เข้ากับความต้องการของผู้ลงทุนในยุค Next normal นี้ให้ได้ด้วยแนวคิดอะไรดี