เชื่อว่านาทีนี้ SME หลายคนมีความกระหายใคร่รู้ว่าหลังผ่อนคลายมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในเฟสต่างๆ แล้ว พฤติกรรมผู้บริโภคจะเปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง? จะยังเป็นชีวิตวิถีใหม่ หรือที่เรียกว่า New Normal เช่น ดูหนังหรือคอนเสิร์ตทางออนไลน์ เที่ยวผ่านไลฟ์สตรีมมิ่ง
Fast Fashion ที่ผลิตออกมาจำนวนมากเพื่อขายในราคาถูกเป็นต้นตอของการทำลายสิ่งแวดล้อมอย่างมหาศาล ทั้งในแง่ของการสร้างมลพิษและเอาเปรียบแรงงาน ผู้บริโภคสายกรีนจึงหันมาเลือกใช้สินค้าอย่างมีจริยธรรม ทำลายวงจรของการซื้อ-ใช้-ทิ้งอย่างรวดเร็ว
จากวิกฤติการระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่ผ่านมา ธุรกิจการสั่งอาหารออนไลน์ ผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ กลายเป็นช่องทางสำคัญของผู้ประกอบการธุรกิจร้านอาหารและผู้บริโภค โดยพบว่ามีจำนวนร้านอาหารขนาดเล็ก-กลาง สมัครเข้าร่วมกับแพลตฟอร์มจัดส่งอาหาร ไม่น้อยกว่า 20,000 รายต่อสัปดาห์ทีเดียว
ในยุคนี้พ่อแม่ยุคใหม่มีบทบาทในครอบครัวแทบไม่ต่างกัน ไม่มีช้างเท้าหน้า ช้างเท้าหลังหรือควาญช้างอีกต่อไป ส่งผลต่อพฤติกรรมผู้บริโภคที่ค่อยๆ เปลี่ยนไป อำนาจการตัดสินใจซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคเข้าบ้าน อาจไม่ได้อยู่ที่ผู้หญิงเหมือนที่เคยเป็นมาอีกแล้ว
กลุ่มผู้บริโภคในอาเซียนที่ใส่ใจประเด็นด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยพวกเขาพร้อมมีส่วนร่วมช่วยผลักดันให้เกิดความเปลี่ยนแปลงขึ้นในสังคม ส่งผลต่อแนวคิดและพฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการ
ภาครัฐได้มีการผ่อนคลายมาตรการล็อกดาวน์เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของสถานการณ์โควิด-19 ในระยะที่หนึ่งไปเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม ระยะที่สองเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม และล่าสุดระยะที่สาม ในวันที่ 1 มิถุนายน เพื่อให้กิจการและกิจกรรมหลายประเภทสามารถกลับมาให้บริการได้อีกครั้ง
“ความเชื่อมั่น” คือสิ่งสำคัญในช่วงที่กิจการต่างๆ เริ่มกลับมาเปิดทำการอีกครั้ง ท่ามกลางความไม่แน่นอนของสถานการณ์โควิด-19 และวิถีใหม่ในยุค New Narmal ซึ่งระดับความเชื่อมั่นต่อแบรนด์ที่สูง คือสิ่งสะท้อนความมั่นใจของลูกค้าในการตัดสินใจซื้อสินค้าหรือบริการ
โควิด-19 นำมาสู่ค้าปลีกรูปแบบใหม่ ที่การสร้างมาตรฐานด้านความสะอาดและความปลอดภัย จะกลายมาเป็นปัจจัยที่ผู้บริโภคให้ความสำคัญ ควบคู่ไปกับการรุกตลาดออนไลน์ เมื่อการกักตัวสร้างพฤติกรรมใหม่ที่เคยชินจนเป็นเรื่องปกติที่เรียก New Normal
ผู้บริโภคยุคใหม่มีความชอบ ความต้องการ และไลฟ์สไตล์ที่แตกต่างไปจากผู้บริโภคในโลกยุคเก่า จึงนับเป็นความท้าทายของผู้ผลิตสินค้า เจ้าของแบรนด์ และผู้ประกอบการอย่าง SME ที่ต้องเข้าใจและปรับตัวให้ทันเกม โดยต้องอ่านใจลูกค้ายุคดิจิทัลให้ออก
การทำธุรกิจในโลกยุคใหม่ SME ต้องเท่าทันพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป หนึ่งในความเปลี่ยนแปลงที่มองเห็นอย่างชัดเจนคือ วันนี้ผู้คนส่วนใหญ่ใช้ชีวิตอยู่บนโลกโซเชียล ถ้าผู้ประกอบการยังอยู่ในโลกคนละใบ ก็มีโอกาสหลุดจากใจผู้บริโภคยุคใหม่ได้ง่ายๆ
สภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวทั้งในและต่างประเทศ ส่งผลให้ในช่วงนี้ประชาชนขาดความเชื่อมั่นในเศรษฐกิจ เริ่มจับจ่ายใช้สอยกันอย่างระมัดระวัง ทั้งประหยัดและซื้อของเฉพาะเท่าที่จำเป็น และนั่นก็ทำให้ฝั่งผู้ประกอบการมีความเชื่อมั่นต่อการดำเนินธุรกิจน้อยลงด้วยเช่นกัน
ผู้บริโภคยุคปัจจุบันมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงทุกวันแถมยังเปลี่ยนไปเร็ว เพราะเทคโนโลยีเข้ามาเติมเต็มให้เข้าถึงข้อมูลและผลิตภัณฑ์ได้ง่ายขึ้นจนมีคำกล่าวที่ว่าเรากำลังอยู่ในยุคปลาเร็วกินปลาช้า แต่บางครั้งการพาธุรกิจวิ่งเร็วเกินไปโดยไม่วางแผนให้ดีก่อนอาจทำให้สูญเสียทรัพยากร เงินทุน และล..