ยุคนี้ผู้บริโภคหาข้อมูลจากหลายๆ ช่องทาง มิได้จำกัดอยู่แค่ Google เหมือนเช่นแต่ก่อน กว่าจะตัดสินใจซื้อสินค้าสักชิ้น ต้องค้นหาทั้ง Google, Facebook, Line, Youtube, Pantip ฯลฯ ทำให้ Customer Journey ยาวเป็นหางว่าว ครั้นจะให้ SME ที่มีงบประมาณจำกัด ไปหว่านเงินโฆษณารายทาง ก็คงจะไม่ใ..
ชาวมิลเลนเนียล หรือ Gen Y คือกลุ่มผู้บริโภคที่แบรนด์ต่างๆ กำลังใส่ใจมากที่สุด พวกเขากุมทิศทางเทรนด์ที่ส่งผลต่อแนวทางผลิต การสร้างสรรค์สินค้าและบริการ เช่นเดียวกันกำลังสร้างบรรทัดฐานใหม่ในการซื้อสินค้าลักซ์ชัวรี่
กลยุทธ์ที่โรงแรมต่างๆ งัดมาใช้ในช่วงนี้มากที่สุด ก็คือกลยุทธ์ด้านราคา ที่หลายๆ แบรนด์พาเหรดกันกระหน่ำให้ส่วนลดกันอย่างไม่เคยมีมาก่อน ในมุมแขกผู้เข้าพักอาจเป็นเรื่องดี แต่ทว่าในมุมของผู้ประกอบการโดยเฉพาะรายเล็กนี่คือโจทย์ใหญ่ที่ต้องรับมือ
เขาว่าความสวยรอไม่ได้ แม้ในวิกฤตไวรัสแต่ใครล่ะจะอยากหยุดสวย ธุรกิจความงามเลยยังคงอยู่รอดและไปต่อได้แม้ในสถานการณ์โควิด-19
เชื่อว่านาทีนี้ SME หลายคนมีความกระหายใคร่รู้ว่าหลังผ่อนคลายมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในเฟสต่างๆ แล้ว พฤติกรรมผู้บริโภคจะเปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง? จะยังเป็นชีวิตวิถีใหม่ หรือที่เรียกว่า New Normal เช่น ดูหนังหรือคอนเสิร์ตทางออนไลน์ เที่ยวผ่านไลฟ์สตรีมมิ่ง
การระบาดของโควิด-19 อาจทำให้กำลังซื้อของคนชั้นล่างและชั้นกลางลดลง คนสองกลุ่มนี้ชะลอหรือลดปริมาณการซื้อ ตลอดจนการลงทุนในเกือบทุกด้าน แต่ทว่า “กลุ่มเศรษฐีจีน” ยังมีกำลังซื้อสูงเช่นเดิม และมีแนวโน้มที่จะช้อปปิ้งหนักขึ้นด้วยซ้ำ
ยุคนี้ธุรกิจไหนยังไม่พร้อมปรับตัวเข้าสู่โลกออนไลน์ก็ถือได้ว่ากำลังตกเทรนด์ เพราะช่องทางการขายน้อยกว่าคู่แข่งจนอาจสูญเสียยอดขายที่เคยได้รับ และโอกาสทำกำไรได้ก็ไม่เพียงพอจะเอาไปบริหารธุรกิจต่อ
ความร้อนแรงของตลาดฟู้ดเดลิเวอรีในปัจจุบัน ทำให้ เจคิว ปูม้านึ่ง Delivery ต้องปรับแผนธุรกิจใหม่ ชูจุดแข็งให้ขาด เพื่อยืนหนึ่งบนความแตกต่าง พร้อมเตรียมตะกร้าไข่ไว้หลายใบ เป็นการปิดประตูความเสี่ยงและเพิ่มโอกาสทางการแข่งขัน
ติดตามเรื่องราวของ 3 ตัวแม่นักธุรกิจ “เจ๊จง-จงใจ กิจแสวง” แห่งหมูทอดเจ๊จง “เจ๊ง้อ-ณชนก แซ่อึ้ง” ผู้ก่อตั้ง ครัวเจ๊ง้อ และ “เจ๊เช็ง-กรภัคร์ มีสิทธิตา” แห่ง ฟาสเทคโน ผู้ผ่านชีวิตและการต่อสู้มาอย่างสาหัส แต่พวกเธอฟันฝ่ามันมาได้ ด้วยยาใจที่ชื่อ “ลูก”
ทันทีที่โควิด-19 มาเยือน ธุรกิจของจังหวัดระยองกลับหยุดชะงัก บางรายที่ไปต่อไม่ไหวก็ต้องถอนตัวจากธุรกิจ ที่ยังอยู่ก็ต้องดิ้นรนต่อสู้เพื่อให้หลุดพ้นจากวิกฤตนี้ เช่นเดียวกับ “โรงแรมพิมพิมาน” การเจอกับโควิดถึง 2 รอบ ท้าทายความอยู่รอดของพวกเขา
ผู้บริโภคมักตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการด้วย “อารมณ์” มากกว่าใช้เหตุผลใดๆ ฟังดูแล้วเหมือนเวลาที่เราตกหลุมรักใครสักคน แบรนด์จึงต้องจีบลูกค้าด้วยสร้างความสัมพันธ์ทางด้านอารมณ์ ทำให้ผู้บริโภครักและผูกพันกับแบรนด์ และไม่นอกใจกันไปไหนอีกเลย
ไม่มีอะไรเหมือนเดิมหลังธุรกิจต้องเผชิญหน้ากับไวรัสโควิด-19 ซึ่งส่งผลกระทบในวงกว้างต่อทั้งธุรกิจขนาดเล็ก กิจการขนาดใหญ่ หลากหลายอุตสาหกรรม กดดันให้ผู้ประกอบการต้องปรับตัวรับมืออย่างทันท่วงที มีแผนกลยุทธ์ที่สอดรับกับแต่ละช่วงสถานการณ์ที่เกิดขึ้น