พฤติกรรมผู้บริโภคคนไทย หลังผจญกับสถานการณ์ไวรัสโควิด-19 และเริ่มเรียนรู้การใช้ชีวิตแบบ New Normal ตลอดหลายเดือนที่ผ่านมา มีการเปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจมากมาย
"Whip Me" ร้านเครปเย็นจากนนทบุรีที่เพิ่งกลายเป็นกระแสไวรัลเล็กๆ ให้ผู้คนเข้ามารีทวิตกันมากกว่าห้าหมื่นครั้ง จากแคปชันกวนๆ ทำให้ลูกค้าแม้ไม่เคยมาที่หน้าร้าน ไม่เคยได้เห็นสินค้าจริง ก็สามารถตัดสินใจซื้อและเป็นลูกค้าได้ไม่ยาก
บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด ร่วมกับ ธนาคารธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย หรือ SME D Bank เปิดโอกาสให้ผู้ประกอบธุรกิจออนไลน์ที่ส่งของพัสดุเก็บเงินปลายทาง
แม้จะแตกต่างจากกิจการทั่วไป แต่ในช่วงที่เกิดวิกฤตโควิด-19 เหล่าธุรกิจเพื่อสังคมก็ได้รับผลกระทบที่หนักหน่วงไม่ต่างกัน ทำอย่างไรถึงจะข้ามผ่านวิกฤตและไปต่อได้ในโลกยุค Never Normal มาฟังคำตอบและทางออกจากกูรูนักการตลาดกัน
“ยุ้งเกลือ” คือจุดแวะพักริมทางแห่งใหม่ อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ที่ต่อยอดธุรกิจขึ้นมาจากพื้นที่ทำนาเกลือดั้งเดิมอายุร่วม 80 ปี ให้กลายเป็นร้านอาหารและเครื่องดื่มสุดชิก
ความร้อนแรงของตลาดฟู้ดเดลิเวอรีในปัจจุบัน ทำให้ เจคิว ปูม้านึ่ง Delivery ต้องปรับแผนธุรกิจใหม่ ชูจุดแข็งให้ขาด เพื่อยืนหนึ่งบนความแตกต่าง พร้อมเตรียมตะกร้าไข่ไว้หลายใบ เป็นการปิดประตูความเสี่ยงและเพิ่มโอกาสทางการแข่งขัน
ติดตามเรื่องราวของ 3 ตัวแม่นักธุรกิจ “เจ๊จง-จงใจ กิจแสวง” แห่งหมูทอดเจ๊จง “เจ๊ง้อ-ณชนก แซ่อึ้ง” ผู้ก่อตั้ง ครัวเจ๊ง้อ และ “เจ๊เช็ง-กรภัคร์ มีสิทธิตา” แห่ง ฟาสเทคโน ผู้ผ่านชีวิตและการต่อสู้มาอย่างสาหัส แต่พวกเธอฟันฝ่ามันมาได้ ด้วยยาใจที่ชื่อ “ลูก”
เพราะโลกไม่ได้หยุดนิ่งอยู่กับที่ และมนุษย์เรามักถูกบังคับให้ต้องเรียนรู้ตลอดเวลา การจะตั้งรับกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ได้ บางครั้งก็ต้องหาทักษะใหม่ๆ เข้ามาเสริม รวมไปถึงพัฒนาทักษะเดิมที่มีอยู่ให้ก้าวหน้าเพิ่มมากขึ้น
ไม่มีอะไรเหมือนเดิมหลังธุรกิจต้องเผชิญหน้ากับไวรัสโควิด-19 ซึ่งส่งผลกระทบในวงกว้างต่อทั้งธุรกิจขนาดเล็ก กิจการขนาดใหญ่ หลากหลายอุตสาหกรรม กดดันให้ผู้ประกอบการต้องปรับตัวรับมืออย่างทันท่วงที มีแผนกลยุทธ์ที่สอดรับกับแต่ละช่วงสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
ไวรัสโควิด-19 เข้ามาเปลี่ยนแปลงอะไรหลายอย่างไปจากเดิม เปลี่ยนสิ่งปกติในอดีตให้เป็นวิถีปกติใหม่หรือที่ เรียกว่า New Normal ในหลายๆ อุตสาหกรรม แม้แต่ในโลกของอุตสาหกรรมไมซ์ หรืออีเวนต์
ในช่วงที่ผ่านมามีการพูดถึง “Design Thinking” หรือ กระบวนการคิดเชิงออกแบบ ว่าจะเป็นหนึ่งในคำตอบ และทางออกที่จะทำให้ธุรกิจเข้าใกล้ความสำเร็จ ปรับปรุงการทำงานได้ดีขึ้น และช่วยให้สินค้าที่ทำออกมาขายได้
ทุกวันนี้ภาคธุรกิจให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นด้วยหลายเหตุผล ทั้งในแง่ความต้องการลดขยะ ต้องการรักษาโลกใบนี้ให้น่าอยู่ ขณะเดียวกันเพื่อเพิ่มทางเลือกให้กับผู้บริโภคที่ไม่สามารถใช้พลาสติกแบบเดิมๆ ได้ ด้วยการหาวัตถุดิบใหม่มาทดแทน