ในยุคที่เศรษฐกิจผันผวนและการแข่งขันที่รุนแรง ผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ต่างต้องการ “เงินทุน” ในการขับเคลื่อนธุรกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน แต่ “การเข้าถึงสินเชื่อในระบบ” ยังเป็นอุปสรรคสำคัญของผู้ประกอบการ ทางออกหนึ่งคือการหันไปหา “เงินกู้นอกระบบ”
รู้หรือไม่จำนวน SME ของไทยกว่า 3.2 ล้านราย มี SME ไม่ถึงครึ่งที่เข้าถึงสินเชื่อของสถาบันการเงิน ทั้งๆ ที่ SME คือฟันเฟืองที่มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย แต่การที่จะเข้าถึงแหล่งเงินทุนสถาบันการเงินกลับไม่ใช่เรื่องง่าย
ตอนนี้ไม่ว่าจะหันไปทางไหน ก็มักได้ยินแต่ข่าวเศรษฐกิจไม่ดี ขายของไม่ได้ ปิดกิจการอยู่เต็มไปหมด ล่าสุดแว่วมาว่าแม้แต่ตลาดจีน ที่เป็นอีกแหล่งส่งออกรายได้หลักของไทย จากจำนวนประชากรที่มีมากกว่า 1,400 ล้านคน ก็ย่ำแย่ไม่ต่างกัน
ท่ามกลางอุณหภูมิโลกที่สูงขึ้นทุกปี คาดว่าปี 2567 จะร้อนยิ่งกว่าปี 2566 ประเทศไทยของเราต้องเผชิญกับทั้งอากาศร้อนจัดและเศรษฐกิจที่ชะลอตัว แต่ท่ามกลางวิกฤต ยังมีโอกาส! เมื่อเศรษฐกิจสีเขียว กำลังเติบโตอย่างรวดเร็ว
ถือว่าเป็นธุรกิจที่เป็นหน้าเป็นตาของประเทศไทยก็ว่าได้ทั้งธุรกิจอาหารและเกษตร เพราะต่างทำรายได้ให้ประเทศไทยไม่ใช่น้อย สำหรับธุรกิจอาหารแค่ 9 เดือนแรกปี 66 การส่งออกอาหารของไทยทำรายได้ถึง 1.16 ล้านล้านบาท
รับจ้างลาออก ธุรกิจใหม่มาแรงในญี่ปุ่น ตอบโจทย์คนทำงานยุคใหม่ขี้เกรงใจ เปิดให้บริการแล้วกว่า 100 แห่ง
จากเทรนด์การทำงานของผู้คนยุคนี้ที่รักในอิสระ ให้ความสำคัญกับการแสวงหาความสุขให้กับชีวิต พอๆ กับการทำงาน จนเกิดเป็นเทรนด์ใหม่ๆ เช่น The Great Resignation – การลาออกครั้งใหญ่, Quiet Quitting – การลาออกเงียบ จนล่าสุดทำให้เกิดธุรกิจรูปแบบใหม่ขึ้นมาที่เรียกว่า “บริษัทรับจ้างลาออก”
ในหลายอุตสาหกรรมของไทยในปัจจุบันจะเห็นได้ว่าได้รับผลกระทบของการแข่งขันจากการที่บริษัทจีนเข้ามาแข่งขันอย่างมาก ทั้งอุตสาหกรรมท่องเที่ยวที่มีการหมุนวนของเม็ดเงินในบริษัทของคนจีนเอง อุตสาหกรรมรถยนต์ที่รถยนต์ไฟฟ้าจากจีนเข้ามาแข่งขันอย่างรุนแรง จนกระทบตลาดรถยนต์มือสองจนบริษัทใหญ่ก็มีการปิดตัวลงไป
ความท้าทายไม่เคยขาดหายไปสำหรับผู้ประกอบการ SME ในประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเศรษฐกิจถดถอย แต่ทุกปัญหาล้วนมีทางออกเสมอสำหรับผู้ที่มีวิสัยทัศน์และยืนหยัดด้วยปรัชญาที่ถูกต้อง
เพราะเชื่อว่าโลกใบนี้ไม่มีขยะ มีแค่เพียงทรัพยากรที่วางไว้ผิดที่ผิดทางเท่านั้น เหมือนกับที่ "เอส-ธนินท์รัฐ ธนเศรษฐ์โตกุล" ได้ค้นพบธุรกิจที่ใช่ หลังจากลองผิดลองถูกมาหลายธุรกิจ ซึ่งก็คือ "ธุรกิจรับซื้อของเก่า" ซึ่งเขามองว่าเป็นธุรกิจที่มีความเป็นอมตะ
เพราะเห็นที่จ.ตาก บ้านเกิดมี กาบหมาก วัสดุจากธรรมชาติจำนวนมากที่มักถูกปล่อยให้ร่วงหล่นอย่างไร้ค่า "สุภาพร วจีธนเศรษฐ์" (อ้อม) ประธานวิสาหกิจชุมชนโฮมฮักตาก จึงต่อยอดเริ่มจากทำเป็นจานกาบหมาก นั่นคือจุดเริ่มต้นของการทำธุรกิจโมเดล BCG ที่เริ่มจากคอนเซปต์ Circular Economy คำนึงถึงการนำวัสดุต่างๆ กลับมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด