พฤติกรรมผู้บริโภคคนไทย หลังผจญกับสถานการณ์ไวรัสโควิด-19 และเริ่มเรียนรู้การใช้ชีวิตแบบ New Normal ตลอดหลายเดือนที่ผ่านมา มีการเปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจมากมาย
มีผู้ประกอบการจำนวนไม่น้อยที่เริ่มต้นธุรกิจจากความคลั่งไคล้ในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่นเดียวกับ “ยุวดี มีทำ” กรรมการผู้จัดการ บริษัท แคปหมึก ฟู้ดแอนด์ มาร์เก็ตติ้ง จำกัด เจ้าของผลิตภัณฑ์แคปหมึก ตรา Ocean Boy เธอนิยามตัวเองว่าเป็น “Squid Lover” สาวกที่ชื่นชอบปลาหมึกเป็นชีวิตจิตใจ
ย้อนกลับไปเมื่อประมาณ 8 ปีก่อน “ภูเก็ต” ยังเป็นหมุดหมายของนักท่องเที่ยวสาย Sea Sand Sun ทว่าวันนี้หลายคนไปเที่ยวภูเก็ตเพราะอยากเสพวิถีชีวิต เยี่ยมเยือน Phuket Old Town ภาพความเปลี่ยนแปลงนี้ มีชายชื่อ “มโนสิทธิ์ แจ้งจบ” เป็นหนึ่งคนอยู่เบื้องหลัง
แม้จะแตกต่างจากกิจการทั่วไป แต่ในช่วงที่เกิดวิกฤตโควิด-19 เหล่าธุรกิจเพื่อสังคมก็ได้รับผลกระทบที่หนักหน่วงไม่ต่างกัน ทำอย่างไรถึงจะข้ามผ่านวิกฤตและไปต่อได้ในโลกยุค Never Normal มาฟังคำตอบและทางออกจากกูรูนักการตลาดกัน
ว่ากันว่าสิ่งที่ยากที่สุดหลังโควิด-19 คือพฤติกรรมของผู้บริโภคที่แปรเปลี่ยน และพฤติกรรมที่ว่านี้กำลังส่งมอบโจทย์ท้าทายให้กับผู้ประกอบการในกลุ่มต่างๆ รวมถึงตลาดที่อยู่อาศัยและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ทั้งรายใหญ่รายเล็ก รายเก่าและรายใหม่ ที่ต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ ปรับเปลี่ยนวิธีการในกา..
การลงทุนผ่านระบบแฟรนไชส์ คือทางลัดในการเริ่มต้นธุรกิจ แต่ไม่ใช่ทุกแฟรนไชส์จะประสบความสำเร็จ โดยเฉพาะในสถานการณ์เช่นนี้ ที่มีทั้งวิกฤตไวรัส เศรษฐกิจซบเซา กำลังซื้อหด ตลอดจนไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคที่แปรเปลี่ยนจากวิถี New Normal
การระบาดของโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจไปจนถึงตลาดแรงงาน ทำให้จำนวนคนตกงานสูงกว่าทุกวิกฤตที่ประเทศไทยเคยเจอมา โดยมีคนทำงานถูกเลิกจ้างหรือพักงานสูงถึง 1 ใน 4 ของแรงงานทั้งประเทศ
การระบาดของโควิด-19 และมาตรการล็อกดาวน์ผลักดันให้คนจำนวนมากได้ Work from Home เป็นเวลา 2-3 เดือน จนถึงตอนนี้รัฐบาลประกาศเปิดเมืองและกลับมาใช้ชีวิตตามปกติ แต่มีคนจำนวนไม่น้อยติดใจการ Work from Home เข้าให้แล้วล่ะ
การระบาดของไวรัสโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อทุกธุรกิจ รวมถึงผู้ประกอบการในกลุ่มอสังหาริมทรัพย์ ที่ต้องปรับกลยุทธ์เพื่อการอยู่รอดในยุคที่กระเป๋าตังค์ของผู้บริโภคเบาบางลง มีการคาดกันว่าวิถี New Normal จะเข้ามาเป็นปัจจัยการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในอนาคต
ไวรัสโควิด-19 ทำให้ผู้คนต้องปรับโหมดสู่การทำงาน Work From Home หลายคนอาจคิดว่าประสิทธิภาพในการทำงานอาจลดลง คนอาจต้องรู้สึกเหงา แต่ผลการวิจัยพบว่า คนส่วนใหญ่พึงพอใจกับการทำงานแบบยืดหยุ่น และมองว่าการทำงานจากที่บ้านทำให้ชีวิตการทำงานดีขึ้น
ในสถานการณ์ไวรัสโควิด-19 หลายอุตสาหกรรมต้องเผชิญกับวิกฤต แต่อุตสาหกรรมอาหารกลับได้รับอานิสงส์ ทว่าความหอมหวานนี้จะยั่งยืนแค่ไหน หลังจากนี้ต้องปรับเกมรุกอย่างไร อุตสาหกรรมอาหารไทยถึงจะกลับมาแข็งแกร่งได้ในตลาดโลก
ไม่มีคำว่าเหมือนเดิมอีกต่อไป หลังจากที่ไวรัสโควิดมาเยือน ทุกอย่างเปลี่ยนไปโดยเฉพาะวิถีการทำงานที่องค์กรต้องปรับตัวกันอย่างหนัก เช่น การให้พนักงาน Work From Home เป็นต้น