ย้อนไปเมื่อสัก 10-20 ปีก่อน อาหารเกาหลียังไม่เป็นที่รู้จักแพร่หลายนัก ต่างจากปัจจุบันที่ร้านอาหารเกาหลีนอกประเทศได้รับความนิยมมากขึ้นจนตีตื้นขึ้นมาได้รับความสนใจพอ ๆ กับอาหารเอเชียชาติอื่น
ในสภาวการณ์ที่สินค้าพื้นฐานราคาสูงขึ้น การ “ตัดสินใจซื้อ” จึงเกิดยากขึ้นด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ตาม ในวิกฤตย่อมมีโอกาสเสมอ อย่าเพิ่งถอดใจว่า ขายของไม่ได้ ถ้ายังไม่ได้ลุยให้เต็มที่
วันนี้อยากนำเรื่องหนึ่งซึ่งน่าจะเหมาะกับยุคสมัยที่อะไรๆ ก็ดูติดขัดและมีปัญหาไปหมด ไม่ว่าจะเป็น โรคระบาดร้ายแรง ข้าวของแพงหู่ฉี่ การเมืองวุ่นวายแสนสาหัส จนดูเหมือนว่าความสุขจะหาได้ยากมากขึ้น มาเล่าให้ฟัง
เกือบ 2 ปีที่คนไทยอยู่กับคำว่า โควิด 19 แต่ชีวิตต้อง Move on แต่ถ้าหากวันนี้สถิติยังขึ้นๆ ลงๆ ยังไปไหนไกลไม่ได้ “แบรนด์” จึงต้องวางกลยุทธ์การตลาดล่วงหน้า การปล่อยอาวุธเพื่อ สร้างยอดขาย จึงตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภคและสร้าง Customer Journey ที่นอกกรอบจากแบบเดิมๆ
ใครเป็นสาวกไอศกรีแมคโดนัลด์เคยเจอกับเหตุการณ์หัวเสียแบบนี้ไหม อยากจะกินไปไอติม แต่เครื่องดันเสียซะงั้น ในไทยไม่รู้เป็นไหม แต่ที่สหรัฐอเมริกาเป็นไปแล้ว
รู้ไหมว่าฐานข้อมูลของลูกค้าเป็นสิ่งที่ธุรกิจควรมีไม่ควรมองข้าม เพราะฐานข้อมูลของลูกค้าเหมือนเป็นขุมทรัพย์ให้กับธุรกิจ และอีกอย่างก็คือธุรกิจสามารถเอาข้อมูล (Data) ของลูกค้ามาทำการตลาดเพื่อรักษาลูกค้าให้อยู่กับเรานานได้อีกด้วย
สังคมผู้สูงวัยถือเป็นอีกหนึ่งเมกะเทรนด์โลก ในศตวรรษที่ 21 ทั้งนี้จากแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นของประชากรสูงวัยทั้งในระดับโลกและระดับประเทศ โดยองค์การอนามัยโลก คาดการณ์ว่าในปี 2573 จะมีประชากรสูงอายุมากถึงประมาณ 1.4 พันล้านคน และจะเพิ่มเป็น 2 พันล้านคนในปี 2593
โควิด-19 ได้เข้ามาเปลี่ยนแปลงชีวิตเรา สิ่งสำคัญที่ผู้ประกอบการธุรกิจต้องคิดต่อจากนี้ คือ เมื่อผ่านพ้นจากเหตุการณ์นี้ไปแล้ว พฤติกรรมใดของผู้บริโภคที่จะยังคงอยู่ และสามารถนำมาใช้ประโยชน์ทางธุรกิจได้ ลองมาฟัง ธนพล ทรัพย์สมบูรณ์
การทำธุรกิจในยุคดิจิทัล ไม่เพียงแต่สามารถเริ่มต้นได้เร็วกว่าเท่านั้น แต่ยังใช้ทุนที่ต่ำกว่าอีกด้วย โดยเฉพาะการทำธุรกิจออนไลน์ที่มีโซเชียลมีเดียในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ไปจนถึงมาร์เกตเพลสที่เป็นช่องทางในการนำเสนอสินค้าไปยังผู้บริโภคโดยตรง อย่างไรก็ตาม แม้จะมี 2 เครื่องมือการตลาด และการขายที่สร้างโอกาสได้เป็นอย่างดีแล้ว สำหรับผู้ประกอบการมือใหม่ ยังอาจจะต้องการตัวช่วย เพื่อให้การเริ่มต้น และสามารถไปต่อได้ง่ายยิ่งขึ้น
เพราะร่างกายของคนเรานั้นมักแตกต่างกันไป บางคนผอม บางคนอ้วน ฯลฯ ความต้องการสารอาหารของแต่ละคนจึงไม่เท่ากัน ในเมื่อผู้บริโภคยุคใหม่หันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้น ทำให้การพัฒนาอาหารในรูปแบบ One size fits all อาจไม่ตอบโจทย์พฤติกรรมผู้บริโภคได้ดั่งเก่า จึงเกิดแนวคิด Tailored to FIT นำไปสู่การผลิตอาหารเพื่อสุขภาพที่เรียกว่า Personalized Food ที่คาดว่าจะสร้างแรงกระเพื่อมใหม่ในโลกอาหารเพื่อสุขภาพ และเป็นโอกาสของผู้ประกอบการอาหารที่จะขยายฐานกลุ่มลูกค้า
เพราะโลกทุกวันนี้ คือ การสื่อสาร หลายธุรกิจจึงพยายามแข่งขันกันที่การสร้างคอนเทนต์ให้ดัง ให้ปังกว่า เพื่อหวังว่าให้แบรนด์เป็นที่รู้จักมากขึ้น เมื่อคนเห็นเยอะขึ้น ก็จะได้กลับมาซื้อสินค้าเราเยอะขึ้น แต่ความจริงแล้วเป็นแบบนั้นจริงไหม
ในช่วงอาทิตย์ที่ผ่านมาได้มีกระแส “ที่สุดของการโฆษณา” เกิดขึ้น จากเพจของ คุณสรยุทธ สุทัศนะจินดา จึงขออนุญาตหยิบยกกรณีศึกษานี้มาพูดคุยกันเรื่อง Marketing 5.0