ว่ากันว่า ทำธุรกิจแล้วไม่มองดูคู่แข่งก็เท่ากับหยุดพัฒนาตัวเอง เชื่อหรือไม่ว่า คู่แข่งทางธุรกิจนั้นไม่ต่างอะไรกับกระจกที่เอาไว้สะท้อนมองดูตัวเอง “เมื่อวานนี้เราเป็นอย่างไร” “วันนี้เราดูดีขึ้นหรือไม่” และ “ในอนาคตข้างหน้ารูปลักษณ์ธุรกิจของเราจะเปลี่ยนไปอย่างไร”
ในหนังสือ “No Rules Rules” ที่เขียนโดย รีด เฮสติ้งส์ บอกเอาไว้ว่าที่ Netflix เขามักสอนพนักงานทุกคนว่า ข้อมูลป้อนกลับเป็นของขวัญ (Feedback is a gift) เมื่อได้รับจงดีใจและรีบกล่าวคำขอบคุณ
การเข้าห้องน้ำทำกิจธุระส่วนตัวอาจเป็นเรื่องปกติของคนทั่วไปที่วันหนึ่งๆ เราอาจเข้าห้องน้ำ 2 – 3 เป็นอย่างน้อย แต่บริษัท Anpu Electric Science and Technology กำหนดให้พนักงานแต่ละคนสามารถเข้าห้องน้ำได้ไม่เกิน 1 ครั้งต่อวัน ไม่เช่นนั้นจะโดนปรับ!
เราทุกคนรู้ดีว่า 2564 จะเต็มไปด้วยความท้าทายอย่างยิ่งสำหรับคนทำธุรกิจ ไม่ใช่แค่การปรับตัวและพัฒนาเท่านั้น แต่ต้องไม่ยอมติดกับดักวิธีทำงานแบบเดิมๆ จนถอยหลังลงคลอง และนี่คือ 15 เรื่องที่ควรหลีกเลี่ยง ถ้าไม่อยากสูญเสียธุรกิจของคุณไป
ในการสรรหาและคัดเลือกพนักงานที่มีความสามารถสูง เป็นคนที่ใช่ (Right People) สำหรับองค์กร ต้องมีการกำหนดคุณสมบัติที่ชัดเจน คุณสมบัติสำคัญที่ใช้กันอยู่ทั่วๆ ไป พอสรุปได้เป็นโมเดลที่เรียกว่า “Good-Can-Want Model”
“ปีเตอร์ ดรักเกอร์” กูรูด้านการบริหารจัดการผู้ล่วงลับ กล่าวไว้ว่า “พนักงานที่ลาออก ส่วนใหญ่ไม่ใช่เพราะองค์กร แต่ออกเพราะหัวหน้า” ยังคงเป็นความจริงที่น่าเกลียดสำหรับหลายๆ องค์กร
ธุรกิจการโรงแรมและการท่องเที่ยวน่าจะฟื้นตัวช่วงไตรมาส 3 หรือไตรมาส 4 ของปีหน้า 2564 อาจทำให้เราจำเป็นที่จะต้องมองหาทางออกอื่นสำรองไว้เป็นทางเลือกเพื่อความอยู่รอด คำถามคือ แล้วเราจะสามารถหาโอกาสในสายงานอาชีพอื่นอะไรได้บ้าง?
ทุกธุรกิจมีกระบวนการทำงานที่เสียเปล่า ไม่ใช่แค่ในองค์กรขนาดใหญ่ที่มีคนจำนวนมากหรือต้องทำงานหลายขั้นตอนเท่านั้น แม้แต่ธุรกิจเล็กหลายครั้งก็ทำงานไปโดยที่ลงแรงเปล่าโดยที่ไม่ได้ผลลัพธ์เท่าที่ควรจะได้
เจ้าของกิจการบางคนมีศักยภาพของความเป็นผู้นำพร้อมสรรพแต่ปัญหาคือไม่มีประสบการณ์ ดังนั้น 12 เดือนแรกของการทำงานเป็นช่วงเวลาที่ต้องเรียนรู้และพิสูจน์ตัวเอง คาถาที่ต้องท่องไว้และทำให้ได้ทุกๆ วัน มี 5 ข้อ ดังต่อไปนี้
การทำตัวให้อยู่ในกระแส รู้ทันเทรนด์ เข้าถึงผู้บริโภครุ่นใหม่ๆ และใช้เทคโนโลยีให้คล่องแคล่ว อาจเป็นเรื่องยาก แต่ถ้ามี “แก๊งเสื้อยืด” หรือกลุ่มคนทำงานรุ่นใหม่อยู่ในองค์กรด้วยแล้วล่ะก็ จากจุดอ่อนจะกลายเป็น “แต้มต่อ” ของธุรกิจขึ้นมาได้
จากประสบการณ์ในฐานะที่ปรึกษาด้านการพัฒนาคน ผนวกกับข้อมูลที่ได้จากงานวิจัยของหลายสถาบันพบว่า ปัญหามาจาก “หัวหน้า” เพราะบกพร่องในการทำหน้าที่ อย่างน้อยข้อใดข้อหนึ่งใน 3 ข้อต่อไปนี้
มาฟัง “มณีรัตน์ อนุโลมสมบัติ” ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร SEA (Thailand) กลุ่มธุรกิจสัญชาติสิงคโปร์ แบ่งปันมุมคิดการสร้างองค์กรคนรุ่นใหม่ ที่เริ่มจากคนแค่ 40 คนเมื่อ 8 ปีก่อน เป็นองค์กร 4,000 คนในวันนี้