สำหรับธุรกิจขนาดเล็กหรือขาดหลักทรัพย์ที่จะมาค้ำประกัน โอกาสที่จะได้รับเงินกู้จากธนาคารจะมีน้อยลง ทำให้เกิดเครื่องมือเสริมสภาพคล่องรูปแบบใหม่นั่นคือ Debt Crowdfunding ที่ ก.ล.ต. อนุญาตให้ SME ออกหุ้นกู้และสามารถเสนอขายให้กับบุคคลทั่วไปได้
เมื่อธุรกิจได้รับผลกระทบจากการโควิด-19 นับเป็นช่วงเวลาที่กระแสเงินสดมีความสำคัญมากยิ่งขึ้น ขอแนะนำ 5 เคล็ด (ไม่) ลับที่จะช่วย SME บริหารกระแสเงินสดได้ดีในยุค New Normal
“อุตสาหกรรมการผลิต การค้า และการท่องเที่ยว” มีความเปราะบางมาตั้งแต่ก่อนวิกฤต โดยเฉพาะธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก หรือ SME แล้วอะไรล่ะคือสาเหตุ? มาหาคำตอบไปพร้อมกัน
SME หรือ Startup ที่มีขนาดธุรกิจใหญ่ถึงระดับหนึ่งอาจจะเริ่มมองหาโอกาสที่จะนำกิจการเข้าไประดมทุนในตลาดหลักทรัพย์เพื่อที่จะขยายธุรกิจ ทั้งนี้ก่อนที่จะตัดสินใจระดมทุนอยากให้ Checklist ความพร้อมของตัวเองใน 5 ประเด็นนี้ดูเสียก่อน
รู้ไหมว่าในปีวิกฤตโควิดที่ผ่านมา ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์อย่าง “แสนสิริ” ช่วย SME ไปแล้วกี่ราย? แล้วพวกเขาใช้โมเดลไหนในการช่วยเหลือ ให้ วิน-วิน ทั้งกับแสนสิริและ SME ขณะที่ปีนี้ยังขยายความร่วมมือมาดึงภาคการเงินอย่าง SCB มาร่วมด้วย
การหาแหล่งเงินทุนของผู้ประกอบการ SME จะแบ่งออกเป็น 2 แนวทางหลัก คือ การกู้เงินผ่านช่องทางของตลาดเงิน และการระดมทุนผ่านช่องทางตลาดทุน ซึ่ง 2 แนวทางนี้มีความแตกต่างกัน มาดูกันว่าแนวทางใดที่เหมาะสมกับรูปแบบธุรกิจของเราที่สุด
ธนาคารไทยพาณิชย์ จัดแคมเปญพิเศษ SCB SME O/D Payroll บริการวงเงินกู้เบิกเกินบัญชีสำหรับการจ่ายเงินเดือนพนักงาน ช่วยต่อสายป่านให้ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีจากทุกธุรกิจมีสภาพคล่องเพียงพอในการนำไปเป็นค่าจ้างเพื่อดูแลและรักษาพนักงาน
หากจะวัดความสามารถทางการแข่งขันรวมถึงความเข้มแข็งทางธุรกิจนอกเหนือจากปัจจัยเชิงคุณภาพอย่างเช่น โปรดักต์ที่มี ทีมพนักงานรวมถึงผู้นำองค์กรแล้ว ยังมีอีกวิธีการวัดผลที่เป็นรูปธรรมนั่นคือการดูที่อัตราส่วนทางการเงินต่างๆ
การบริหารจัดการด้านการเงินส่วนบุคคล” กลายเป็นหัวข้อ และปัจจัยสำคัญทั้งกับบุคคลทั่วไป และผู้ประกอบการไปเรียบร้อยแล้ว ซึ่งบทความนี้จะช่วยไขข้อข้องใจว่า ควรต้องทำอย่างไรให้สามารถบริหารจัดการการเงินได้อย่างมีความสุขตลอดปี 2021
ท่ามกลางการแพร่ระบาดของไวรัสโควิดระลอกที่สอง เป็นการเร่งให้ผู้ประกอบการ SME ต้องหันมาสนใจในเรื่องของต้นทุนการดำเนินงานมากขึ้น ลองมาสำรวจกันว่า ต้นทุนใดบ้างที่สามารถปรับลดได้โดยการนำเทคโนโลยียุคใหม่มาปรับใช้
ตามที่สถานการณ์โควิด-19 ระลอกใหม่ ธนาคารไทยพาณิชย์จึงได้ขยายระยะเวลามาตรการช่วยเหลือระยะ 3 เพื่อบรรเทาผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจให้กับลูกค้าจากสถานการณ์ไวรัสโควิด-19
SME D Bank ช่วยต่อเนื่อง ออกมาตรการ “พักหนี้อุ่นใจ เติมเงินใหม่ไปต่อ” ดูแลเอสเอ็มอีไทย ฝ่าวิกฤตโควิด-19 ระลอกใหม่ ให้สิทธิลูกค้าเดิมพักชำระหนี้เงินต้น 6 เดือน พร้อมเติมเงินเสริมสภาพคล่อง ไม่ต้องใช้หลักทรัพย์ค้ำประกัน