กลยุทธ์ “การสื่อสาร” ด้วย “Storytelling” ที่ธุรกิจโรงแรมนำมาใช้เพื่อสร้าง Engagement ให้กับกลุ่มเป้าหมายหลังโรงแรมกลับมาเปิดให้บริการอีกครั้ง นี่คืออีก 4 วิธีการเล่าเรื่องธุรกิจให้ดึงดูดใจนักท่องเที่ยว
หลังจากวิกฤตโควิด-19 ในประเทศไทยเริ่มผ่อนคลาย หลายๆ ธุรกิจจึงเริ่มกลับมาเปิดให้บริการได้อีกครั้ง หนึ่งในนั้นก็คือธุรกิจโรงแรม หลังจากที่โรงแรมได้ปรับมาตรฐานการให้บริการรับ New Normal ด้านพฤติกรรมการเข้าพักของแขกโดยเฉพาะในด้านสุขอนามัย เป็นเรื่องของ “การสื่อสาร” ในสิ่งที่โรงแรมไ..
กลยุทธ์การตลาดยอดฮิตในช่วงหลายปีที่ผ่านมา คือการสร้างประสบการณ์ให้กับลูกค้า ในโฆษณาจึงมีคำว่า ‘Experience’ หรือ ‘ประสบการณ์’ อยู่เต็มไปหมด แต่กลยุทธ์นี้ไม่เพียงพอในยุคหลังโควิด สิ่งที่ธุรกิจต้องสร้างคือ เป็นแบรนด์ที่ลูกค้าเชื่อใจ (Trust)
2020 เป็นปีที่ยากลำบากสำหรับผู้ประกอบการทั่วโลก การระบาดของโควิดทำให้ทุกอย่างดูย่ำแย่ ทั้งการใช้ชีวิต การทำงาน การพักผ่อน แต่ในวิกฤตยังมีโอกาส อันนี้ไม่ได้เป็นแค่คำคมเท่ๆหรือพูดให้ดูดี แต่วันนี้ผมมีข้อมูล The 100 Best Global Brands จาก Interbrand มายืนยัน และสรุปให้ฟัง
ในบทความเรื่องแบรนด์ที่ประสบความสำเร็จต้องให้ความสำคัญที่คนใช้งาน ไม่ใช่ผู้ซื้อ (The Most Successful Brands Focus on Users - Not Buyers) เขียนโดย Mark Bonchek ใน Harvard Business Review บอกว่าแม้แบรนด์จะมีวัฏจักร มีแบรนด์เกิดใหม่ และก็มีแบรนด์ที่หายไป แต่ถ้าเทียบแบรนด์ที่ประสบความสำเร็จในยุคดิจิทัล อาทิ Paypal AriBNB Tesla Red bull หรือ Dollar Shave จะพบว่ามีจุดต่างจากแบรนด์ที่ดังอาทิ Coca Cola, Visa, Toyata อย่างสิ้นเชิง
“ไปกี่ทีก็หาที่จอดรถยาก หากได้เดินก็เพลินจนได้ของติดมือออกมาด้วย” บรรยากาศแบบนี้นึกถึงห้างไหนกันบ้างครับ ถ้ายังนึกไม่ออก ผมมีคำใบ้เพิ่มอีกนิดหน่อย “เป็นห้างขนาดใหญ่มาก ไปกี่ทีก็มีของใหม่มาให้เลือก เดินปุ๊บรู้สึกอยากแต่งบ้านขึ้นมาทันที”
สมัยก่อน การทำการตลาดไม่ยุ่งยากมาก ผลิตสินค้า วางจำหน่าย แล้วก็แค่ทำโฆษณาผ่านสื่อที่สำคัญ คือ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุ สมัยก่อนสื่อหลักๆ ก็มีไม่เท่าไร ช่องโทรทัศน์ก็มีแค่ 3 5 7 9 หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ เดลินิวส์ ซึ่งเข้าถึงคนด้วยสื่อแบบเดียวกัน ผู้ชม ผู้อ่าน ไม่มีทางเลือก เสพโฆษณาอย่างที่ถูกวางให้เสพ 1 ภาษา 1 ทาง การสื่อสารทั้งหมดถูกควบคุมโดยนักโฆษณาและแบรนด์ รูปแบบรายการถูกออกแบบโดยสื่อ
สถานการณ์การระบาดของโควิด ทำให้ความเชื่อเรื่อง Multipotentialite หรือทักษะความสามารถที่หลากหลาย กลับมาเป็นที่สนใจอีกครั้ง คำศัพท์นี้ถูกคิดค้นโดยนักจิตวิทยามาตั้งแต่ศตวรรษที่ 19 ในตอนนั้นศัพท์คำนี้มีความหมายในเชิงลบ เพราะกระแสโลกคือ การเป็นผู้เชี่ยวชาญ (Specialist) ที่ตอบโจทย์ความต้องการในยุคนั้น หากไม่มีโควิดผมเชื่อว่า การเป็นผู้เชี่ยวชาญก็ยังเป็นที่ต้องการของตลาด แต่จากนี้ไปมุมมองเรื่องการมีทักษะที่หลากหลายจะกลายเป็นเสน่ห์ของการเรียนรู้
ผู้ประกอบการจะหาลูกค้าจีนใหม่ๆ ได้ง่ายๆ ถ้าลองกลยุทธ์นี้ ซึ่งทำไม่ยากและแพงอย่างที่คิด แบรนด์ไทยหลายแบรนด์ได้เริ่มทำแล้วลูกค้าจีนติด ผลลัพธ์ดีเกินคาดและยังเป็นกระแสที่ไม่เคยตกในทุก platform จีนตั้งแต่ปี 2016
ทดสอบ