รู้จัก S’uvimol แบรนด์กระเป๋าไทยพรีเมียมที่สืบทอดไอเดียธุรกิจจากรุ่นสู่รุ่น

TEXT : กองบรรณาธิการ


PHOTO : เจษฎา ยอดสุรางค์
 

 
 

Main Idea
 
  • การทำธุรกิจจะประสบความสำเร็จได้อย่างสวยงามและอยู่ได้ยืนยาว ต้องอาศัยองค์ความรู้ที่ส่งต่อจากรุ่นสู่รุ่น
 
  • เหมือนเช่นกับ “S’uvimol” แบรนด์กระเป๋าไทยพรีเมียมที่ต่อยอดธุรกิจจากฟาร์มจระเข้ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ ซึ่ง รับหน้าที่รับผิดชอบดูแลโดยสองแม่ลูกนักธุรกิจสวยและเก่งอย่าง “แพร-พัชรพิมล ยังประภากร” และ“ฝน-ชวมณฑ์ ปวโรดม” ที่ได้ฝากแง่คิดในการทำธุรกิจดีๆ ไว้ดังนี้
 

 

     S’uvimol แบรนด์กระเป๋าไทยพรีเมียมที่ต่อยอดธุรกิจมาจากฟาร์มจระเข้ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย หรือในโลกก็ว่าได้ จนถึงวันนี้โลดแล่นอยู่ในวงการแฟชั่นบ้านเราและต่างประเทศมานานกว่าสิบปีแล้ว และได้ส่งต่อแนวคิดทางธุรกิจไว้มากมาย เริ่มจากการเป็นเจ้าของฟาร์มจระเข้และผู้ส่งออกหนังรายใหญ่ของประเทศ จนถึงการเป็นเจ้าของแบรนด์กระเป๋า Exotic ชั้นนำของเมืองไทย





     มาวันนี้จากการเป็นทายาทธุรกิจที่ต้องมาสานต่อกิจการของครอบครัว จนเมื่อได้มาเป็นคุณแม่เสียเอง “แพร-พัชรพิมล ยังประภากร” ได้ส่งต่อองค์ความรู้ธุรกิจอะไรให้กับลูกสาว “ฝน-ชวมณฑ์ ปวโรดม” บ้าง


     ลองไปไขความลับไอเดียธุรกิจจากรุ่นสู่รุ่นของกระเป๋าแบรนด์เนมระดับพรีเมียมของไทยกัน




 

RECCOMMEND: ENTREPRENEUR

พลิกตำรายา 150 ปี สู่อาณาจักรสุขภาพแห่งอนาคต ทายาทขุนอภิบาลบ่อพลับ ร่วมสร้างธุรกิจครอบครัว

เป้าหมายการทำธุรกิจของหลายคนอาจเป็นเรื่องรายได้ แต่สำหรับ ต๊อก-ปีรัชด์ อนันตพันธ์ และ แต๊ก-ปานชาติ มิตรกูล มีเป้าหมายสร้างแบรนด์ "อภิบาลบ่อพลับ" เพื่อให้ทุกคนได้ระลึกถึงตำรายาไทย 150 ปี จากบรรพบุรุษของเขาที่ชื่อ ขุนอภิบาลบ่อพลับ

tISI แบรนด์แฟชั่นย้อมสีธรรมชาติ ส่วนผสมลงตัวงานคราฟต์ไทยกับดีไซน์ร่วมสมัย ที่ฝันว่าวันหนึ่งจะไปตั้งขายอยู่กลางกรุงปารีส

ปัญหาหนึ่งของงานคราฟต์ไทย ที่ทำให้ไม่ได้รับความนิยมมากเท่าที่ควร แม้จะเป็นงานทรงคุณค่า ก็คือ ไม่สามารถนำมาประยุกต์ใช้จริงอยู่ในชีวิตประจำวันได้ แต่อาจไม่ใช่กับ tISI (ธิซายด์) แบรนด์แฟชั่นไทยน้องใหม่ที่มองว่าไม่จำเป็นต้องอนุรักษ์ หากสิ่งนั้นเป็นที่ต้องการอยู่แล้ว

สานต่อตำนาน 70 ปี ทายาทรุ่น 3 ปัดฝุ่น รร.แสงทองเฮอริเทจ สู่แลนด์มาร์คใหม่แห่งนครพนม

เพราะความฝันที่จะสานต่อโรงแรมเก่าแก่ "แสงทอง" ที่บรรพบุรุษสร้างขึ้น กรรณิการ์ หนูห่วง ทายาทรุ่นที่ 3 จึงตัดสินใจกลับ จ.นครพนม เพื่อหวังฟื้นฟูโรงแรมที่มีสถาปัตยกรรมโบราณให้กลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง ท่ามกลางความไม่เห็นด้วยของครอบครัว และโจทย์หินมากมาย