หนึ่งในทางออกของโรงงานผลิต เพื่อเพิ่มยอดขายให้กับธุรกิจ ก็คือ การออกมาสร้างแบรนด์ของตัวเอง แต่จะทำยังไงเพื่อไม่ให้เสียฐานลูกค้าเดิมจาก OEM ที่มีอยู่ ลองฟังเคสตัวอย่างจากแบรนด์สบู่ ‘Cosmos and Harmony’ ที่ผันตัวมาจากโรงงานผลิตสบู่กัน
นอกจากไอเดีย ความคิด และเงินทุนแล้ว การจะทำให้ผลิตสินค้าขึ้นมาได้ คนสำคัญ ก็คือ “ซัพพลายเออร์” แต่การจะได้ซัพพลายเออร์ที่ถูกใจ ทำงานออกมาได้ตามต้องการ ราคาดี ไม่ใช่เรื่องง่ายเลย วันนี้จะชวนมารู้เทคนิคเลือกซัพพลายเออร์กับแบรนด์ Janfive Studio กัน
อุตสาหกรรมการพิมพ์สำคัญต่อเศรษฐกิจประเทศอย่างไร กำลังตกอยู่ในช่วง Sunset จริงหรือเปล่า SME Thailand Online ได้มีโอกาสพูดคุยกับ พงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช นายกสมาคมการพิมพ์ไทย คำตอบจะเป็นอย่างไร ไปฟังกัน
ธุรกิจจะอยู่รอดได้ต้อง Transformation ให้ทันกับสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนไป แต่จะต้องทำแบบไหน อย่างไรถึงจะประสบความสำเร็จ วันนี้เรามีแนวคิดจาก 5 CEO ระดับประเทศ ที่ได้มาแชร์สูตรลับมาฝากกัน
การผลิตสินค้ายุคนี้นอกจากจะคำนึงถึงความต้องการของลูกค้าเป็นหลักแล้ว ยังต้องหันมาใส่ใจเรื่องสิ่งแวดล้อมอีกด้วย โดยล่าสุดทบวงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของไต้หวัน ได้ประกาศร่างระเบียบใหม่เพื่อแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม โดยจะห้ามผู้ขายสินค้าออนไลน์ใช้วัสดุ PVC มาทำการห่อสินค้าหรือพัสดุสำหรับจัดส่งให้ลูกค้า
ความสำเร็จไม่มีรูปแบบ แม้แต่ธุรกิจในครอบครัว เมื่อเวลาผ่านไปใช่ว่าความสำเร็จที่คนรุ่นเก่าทำไว้จะตกทอดมาถึงคนรุ่นหลังโดยปราศจากการต่อยอดพลิกแพลงธุรกิจ ฉะนั้นการต่อยอดธุรกิจจึงไม่ใช่เรื่องง่ายแต่ก็ไม่ใช่เรื่องยากเกินไป
อัพสตาร์ท ทะยานสู่ฝัน (Upstarts) เป็นหนังอินเดียเรื่องแรกที่นำเสนอเกี่ยวกับการลงทุนธุรกิจสตาร์ทอัพ และนี่คือ 10 ข้อที่สรุปออกมาจากเรื่องราวของสามหนุ่มและหนึ่งหญิงสาว Upstart ผู้ก่อตั้งสตาร์ทอัพในหนังเรื่องนี้
จากเงินเดือนหลักแสนบาท ใครจะคิดว่าวันหนึ่ง “ไพศาล ยอดนาม” หรือ “เชฟเฉา” อดีตหัวหน้าวิศวกรยานยนต์จะยอมตัดสินใจทิ้งหน้าที่การงานมั่นคง เพื่อก้าวออกมาเปิดร้านขายสปาเก็ตตี้ในราคากล่องละไม่กี่สิบบาท แต่ที่สำคัญกลับทำรายได้หลักล้านต่อเดือนได้
ต้องบอกเลยว่าการทำธุรกิจที่เกี่ยวกับความเป็นความตายนั้นไม่ได้ง่ายเลย แต่สิ่งที่จะทำให้ธุรกิจเหล่านี้อยู่รอดได้ ก็คือ การสร้างความแตกต่างให้ธุรกิจ วันนี้เราเลยจะมาแนะนำ 5 ไอเดียการทำธุรกิจแห่งความตายอย่างไรให้แตกต่างจากคู่แข่ง
“อาชีพทำกระเป๋า ต้องเป็นอาชีพสุดท้ายเท่านั้น” ปณิธานของ สิทธิเดช ถนิตฤทธิพร หนึ่งในสามพี่น้องเจ้าของ Tara Leather หนึ่งในธุรกิจเครื่องหนังเอ็กโซติกกว่า 4 ทศวรรษ ที่ผ่านช่วงวิกฤติต่างๆ มาได้ ภายใต้ความเจ็บปวดเขาค้นพบบทเรียนสำคัญเป็นโอกาสให้ธุรกิจของครอบครัวอยู่รอดต่อไปได้
ของบางสิ่งที่มีความความทรงจำที่ดีซ่อนอยู่เราก็อยากจะเก็บมันไว้ แม้ว่าของชิ้นนั้นจะพังแล้วก็ตาม จนเกิดเป็นไอเดียธุรกิจเก็บความทรงจำของหญิงสาวจีนผู้หนึ่งที่นำข้าวของที่ไม่ใช้แล้ว มาสร้างเป็นชิ้นงานศิลปะสร้างรายได้กว่าหลายล้านบาทต่อปี
"42 เนเจอรัลรับเบอร์" หนึ่งในผู้ประกอบการที่เคยเข้าร่วมพัฒนาปรับปรุงธุรกิจกับโตโยต้า จากความไม่รู้จักตัวเอง จนทำให้เกิดความสูญเสียในต้นทุนการผลิต ล่าสุดสามารถแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง พร้อมได้รับเลือกจัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโตโยต้าธุรกิจชุมชนพัฒน์ แห่งที่ 4 ขึ้นมา