ปัญหาหนึ่งของงานคราฟต์ไทย ที่ทำให้ไม่ได้รับความนิยมมากเท่าที่ควร แม้จะเป็นงานทรงคุณค่า ก็คือ ไม่สามารถนำมาประยุกต์ใช้จริงอยู่ในชีวิตประจำวันได้ แต่อาจไม่ใช่กับ tISI (ธิซายด์) แบรนด์แฟชั่นไทยน้องใหม่ที่มองว่าไม่จำเป็นต้องอนุรักษ์ หากสิ่งนั้นเป็นที่ต้องการอยู่แล้ว
เพราะความฝันที่จะสานต่อโรงแรมเก่าแก่ "แสงทอง" ที่บรรพบุรุษสร้างขึ้น กรรณิการ์ หนูห่วง ทายาทรุ่นที่ 3 จึงตัดสินใจกลับ จ.นครพนม เพื่อหวังฟื้นฟูโรงแรมที่มีสถาปัตยกรรมโบราณให้กลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง ท่ามกลางความไม่เห็นด้วยของครอบครัว และโจทย์หินมากมาย
เพราะคำว่า “ไม่จำเป็น” ≠ “ไม่มีประโยชน์” ชิ้นงานแสนฮาของ Matty Benedetto “อัจฉริยะผู้ชั่วร้าย” จึงเป็นตัวอย่างชั้นดีให้กับผู้ประกอบการที่ตกอยู่ในอาการไอเดียตัน คิดอยากทำผลิตภัณฑ์ใหม่หรือพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิมได้ลองมาเรียนรู้กัน
เชื่อไหมแค่ใส่เสื้อยืด (นี้)..ก็ช่วยกอบกู้โลกได้.. โดยล่าสุดมีการเปิดตัว “Ar.voree T-shirt” เสื้อยืดที่ทำมาจากนวัตกรรมสารเคลือบพิเศษที่เรียกว่า “COzTERRA” เพื่อใช้ดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศได้
จ๋าย-สุภาภรณ์ บุญมาคลี่ เจ้าของร้านที่กำลังมาแรงบนโลกออนไลน์กับร้าน พิซซ่าโคนในบ้าน ที่หยิบเอาคอนเทนต์ที่เกิดขึ้นในแต่ละวันมาปั้นจนกลายเป็นคลิปสุดแมส แถมเรียกลูกค้าเข้ามาอย่างไม่ขาดสายแม้ว่าทำเลจะอยู่ในบ้านที่ไม่มีคนผ่านไปผ่านมาก็ตาม
เมญ่า-ศุภกฤต พลเสน นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ด้านแฟชั่นดีไซน์ อายุ 19 ปี ที่เริ่มต้นธุรกิจขึ้นมาด้วยความบังเอิญ จากงานโปรเจกต์ส่งครูที่นำไปเผยแพร่เล่นๆ บน TikTok อยู่ดีๆ ก็มีคนเข้ามาดูเกือบครึ่งล้าน กลายเป็นที่มาตัดสินใจสร้างแบรนด์ขึ้นมา
เพราะอายุไม่ใช่สิ่งที่จะบ่งบอกว่าควรเริ่มต้นธุรกิจตอนไหน กิ๊ก-อมรรัตน์ พรหมพิชิต เริ่มต้นทำธุรกิจครั้งแรกในวัย 13 ปี กับการพรีออร์เดอร์สินค้าจากเกาหลี จากนั้นใช้เงินต่อยอดสู่การเล่นหุ้นจนถึงการปั้นแบรนด์เครื่องหอมสุดลักชูรี่ “KICKIN' Thailand” ตอนที่เธออายุ 17 ปี
Samarn Craft แบรนด์คราฟต์เบียร์ชาไทยกำลังจะสร้างปรากฏการณ์ใหม่ให้กับวงการคราฟต์เบียร์ไทย ที่ไม่เพียงเป็นเบียร์ถูกกฎหมาย แต่ เจ็น-ชาญชัย รัศมี เจ้าของแบรนด์ Samarn craft ยังมีเป้าหมายที่จะพาคราฟต์เบียร์ชาไทยตัวนี้ไปตีตลาดจีน
ในวันนี้ร้านน้ำชา จ.นราธิวาส บางร้านเริ่มถูกดัดแปลงเป็นร้านกาแฟตามยุคสมัย คนรุ่นใหม่เริ่มเปลี่ยนผ่านสถานที่รวมตัว D'Art Cafe & Coffee Lab จึงเกิดขึ้นในหอศิลป์ De' Lapae Art Space Narathiwat เพราะอยากจะให้ผู้คนได้ใกล้ชิดศิลปะ โดยมีคาเฟ่เป็นจุดเชื่อมโยง
นคร แขฉายแสง วิศวกรผู้รักในงานประดิษฐ์ และลองผิดลองถูกกับการปลุกปั้นชิ้นงานต่างๆ เพื่อหวังเติบโตทางธุรกิจ แต่แล้วในวันหนึ่งเมื่อเขาเข้าใจปรัชญาอิคิไกอย่างลึกซึ้ง จึงเริ่มต้นทำธุรกิจอีกครั้งด้วยความมั่นใจ และคาดหวังว่าจะความยื่งยืนในวิถีอิคิไก
เรื่องราวของ เฟิร์น - ศิลินลักษ์ ตุลยานันต์ CEO บริษัท ฟู้ด อีควิปเม้นท์ จำกัด ผู้นำเข้าและผลิตเครื่องจักรแปรรูปอาหาร ที่ครั้งหนึ่งเคยเกือบถูกไล่ออกจากบริษัทของตัวเอง จากความมุ่งมั่น และจริงจังในการทำงานที่มีมากเกินไปจนล้น เป็นยังไง ไปติดตามกัน
ใครจะคิดว่าจากสูตรน้ำจิ้มสุกี้ของแม่ที่นำมากินเพิ่มรสชาติให้กับอาหารคลีนในวันนั้น จะกลายเป็นสินค้าต้นแบบน้ำจิ้มสุกี้โฮมเมด และอีกหลายๆ สูตรน้ำจิ้มเพื่อสุขภาพ ภายใต้แบรนด์ “เจี๊ยะ” (Jea.th) ในแพ็กเกจจิ้งดูน่ากิน และฉลากน่ารักๆ